ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
ค่าของทุน The Cost of Capital
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
Lecture 8.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
การประยุกต์ใช้องค์ประกอบของต้นทุนการผลิตเพื่อการบริหารอย่างมืออาชีพ
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
Lesson 11 Price.
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
Theory of Firm.
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
บทที่ 1 อัตราส่วน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
MARKET PLANNING DECISION
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การผลิตและต้นทุนการผลิต
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การจัดการสินค้าคงคลัง
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต.
พฤติกรรมผู้บริโภค ศิวาพร ทรงวิวัฒน์.
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ต้นทุนการผลิต.
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต.
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 7 ราคา Price.
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต ศิวาพร ทรงวิวัฒน์

พฤติกรรมผู้ซื้อ Output Supply และ Factor of Input Demad ความเป็นไปได้ทางเทคโนโลยีในการใช้ปัจจัยการผลิต ไปเพื่อผลิตสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือหลายชนิด พฤติกรรมผู้ซื้อ Output Supply และ Factor of Input Demad การตัดสินใจทางด้านอุปทานสินค้า Input Factor ปริมาณปัจจัยที่ใช้ในกระบวนการผลิต ปริมาณผลผลิตที่จะเสนอขาย พื้นฐานกระบวนการผลิต หรือความสัมพันธ์ด้านเทคโนโลยีการผลิตระหว่างปัจจัยการผลิต และผลผลิตที่ได้รับ Process Output Factor

Fixed Input Variable Input Production Function Q = (X1, X2,….., Xn) Q = ปริมาณผลผลิต X1, X2,….., Xn = ปัจจัยการผลิต Fixed Input ปัจจัยการผลิต ระยะการผลิตในระยะสั้น (Short-Run Production) Variable Input ระยะการผลิตในระยะยาว (Long-Run Production)

โดยที่ X = ปัจจัยผันแปร การวัดผลผลิตในระยะสั้น ผลผลิตส่วนเพิ่ม (Marginal Product : MP) จำนวนผลผลิตทั้งหมดที่เปลี่ยนแปลงไป เมื่อปัจจัยผันแปรเปลี่ยนแปลงไปหนึ่งหน่วย ผลผลิตเฉลี่ย (Average Product : AP) จำนวนผลผลิตทั้งหมดเฉลี่ยต่อหนึ่งหน่วยของปัจจัยผันแปรที่ใช้ในการผลิต ผลผลิตรวม (Total Product : TP) จำนวนผลผลิตทั้งหมดที่ได้รับจากการใช้ปัจจัยผันแปรจำนวนต่าง ๆ โดยทำงานร่วมกับปัจจัยคงที่อย่างน้อยหนึ่งอย่าง AP = TP / X โดยที่ X = ปัจจัยผันแปร MP = TP / X

Marginal Product : MP Average Product : AP = TP / ปัจจัยผันแปร ปัจจัยคงที่ ปัจจัยผันแปร TP AP MP 1 10 2 24 3 39 4 52 5 61 6 66 7 8 64 10 - 12 14 กฏว่าด้วยการลดน้อยถอยลงของผลผลิตส่วนเพิ่ม (Law of Diminishing Marginal Physical Return) “เมื่อจำนวนของปัจจัยการผลิตชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จะทำให้ผลผลิตส่วนเพิ่มที่ได้รับมีจำนวนลดลงเรื่อย ๆ เช่นกัน” 13 12.20 11 9.43 8 15 13 9 5 2 Marginal Product : MP = TP / ปัจจัยผันแปร Average Product : AP = TP / ปัจจัยผันแปร

ผลผลิต ปัจจัย Increasing Return Diminishing Return Decreasing Return TP MP AP

การวัดผลผลิตในระยะยาว Y X เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Curve : IC) หมายถึงเส้นที่แสดงอัตราส่วนการทดแทนกัน หรือการแลกเปลี่ยน (Trade-Offs) ระหว่างปัจจัยการผลิตชนิดต่าง ๆ ที่จะทำให้ได้รับผลผลิตจำนวนเท่าเดิม สามารถทดแทนกันได้ แต่ไม่สมบูรณ์ สามารถทดแทนกันได้อย่างสมบูรณ์ (Perfectly Substitue) ไม่สามารถทดแทนกันได้ แต่สามารถใช้ประกอบกัน

แนวคิดอัตราการใช้ปัจจัยการผลิตทดแทนกัน (Marginal Rate of Technical Substitution : MRTS) -Y MRTS = ------- X Y X IC Y X

Decreasing Return to Scale กฏผลได้ต่อขนาด (Law of Return to Scale) Y X IC1 = 10 IC2 = 30 IC3 = 60 IC4 = 90 IC5 = 110 Decreasing Return to Scale Constant Return to Scale Increasing Return to Scale

เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost) Y X หมายถึงเส้นที่แสดงส่วนผสมต่าง ๆ ของปัจจัยการผลิตทั้ง 2 ชนิด (X,Y) ที่ซื้อได้ด้วยต้นทุนจำนวนเท่ากัน

Optuimum Inputs Combination Y X IC3 IC2 Optuimum Inputs Combination MRTS = Y/X = PX/PY IC1

Y Expanstion Path IC3 IC2 IC1 X เส้นแนวขยายการผลิต (Expanstion Path) คือเส้นที่แสดงถึงความสามารถในการเลือกทำการผลิต หรือขยายการผลิตสินค้าและบริการ โดยยังคงได้รับ Optimum Inputs Combination Y X Expanstion Path IC3 IC2 IC1

หมายถึงรายได้ที่สูญเสียไปจากเลือกทางเลือกอื่น Opportunity Cost หมายถึงค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เป็นทั้งต้นทุนชัดแจ้ง และต้นทุนไม่ชัดแจ้ง ที่กิจการจะต้องจ่าย Private Cost หมายถึงค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เป็นทั้งต้นทุนที่เกิดขึ้นภายในกิจการเอง และเกิดขึ้นจากภายนอกกิจการ Social Cost หมายถึงค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่กิจการต้องจ่ายสำหรับซื้อ หรือเช่า ที่กิจการได้มีการจ่ายไปจริง ๆ Explicit Cost หมายถึงค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่กิจการไม่ได้มีการจ่ายเป็นตัวเงินจริง Implicit Cost หมายถึงค่าใช้จ่าย ที่กิจการจ่ายไปแล้วไม่สามารถได้คืน Sunk Cost

ต้นทุนส่วนเพิ่ม (Marginal Cost : MC) ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เปลี่ยนแปลงไปจาการที่กิจการเปลี่ยนแปลงจำนวนผลผลิต ต้นทุนเฉลี่ยรวม (Average Cost : AC) ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยทั้งหมดที่กิจการจะต้องเสียไปต่อหนึ่งหน่วยผลผลิตที่ได้รับ ต้นทุนรวม (Total Cost : TC) ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่กิจการจะต้องเสียไปเพื่อซื้อปัจจัยมาผลิตเป็นสินค้าและบริการ การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตระยะสั้น เป็นการศึกษาผลผลิตภายใต้การใช้ปัจจัยผันแปร (Variable Input) ร่วมกับปัจจัยคงที่ (Fixed Input) ดังนั้นต้นทุนการผลิตในระยะสั้นจึงประกอบไปด้วย ปัจจัยคงที่ และปัจจัยผันแปร ต้นทุนเฉลี่ยรวม (Average Cost : AC) AC = AFC + AVC หรือ AC = (AFC/Y) + (AVC/Y) ต้นทุนเฉลี่ย = ต้นทุนคงที่เฉลี่ย + ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย ต้นทุนส่วนเพิ่ม (Marginal Cost : MC) MC = TC / Y ต้นทุนส่วนเพิ่ม = อัตราการเปลี่ยนแปลงของต้นทุนรวม / อัตราการเปลี่ยนแปลงจากจำนวนผลผลิต ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย (Average Variable Cost : AVC ค่าใช้จ่ายปัจจัยผันแปรเฉลี่ยทั้งหมด เฉลี่ยต่อหนึ่งหน่วยของผลผลิต หาได้จาก AVC = TVC/จำนวนผลผลิต (Y) ต้นทุนรวม(Total Cost : TC TC = TFC + TVC ต้นทุนรวม = ต้นทุนคงที่รวม + ต้นทุนผันแปรรวม ต้นทุนคงที่รวม (Total Fixed Cost : TFC ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่กิจการเสียไปเพื่อซื้อปัจจัยคงที่ทั้งหมดมาเพื่อผลิตสินค้า ต้นทุนผันแปรรวม (Total Variable Cost : TFC ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่กิจการเสียไปเพื่อซื้อปัจจัยผันแปรทั้งหมดมาเพื่อผลิตสินค้า ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (Average Fixed Cost : AFC ค่าใช้จ่ายปัจจัยคงที่เฉลี่ยทั้งหมด เฉลี่ยต่อหนึ่งหน่วยของผลผลิต หาได้จาก AFC = TFC/จำนวนผลผลิต (Y)

AC = AFC + AVC AFC = TFC /Q TC = TFC + TVC MC = TC / Q AVC = TVC /Q 4 - 1 10 2 16 3 18 20 5 26 6 36 7 52 8 76 4 - - - 1 10 4 14 20 22 24 30 40 56 80 4 2 1.33 1 0.80 0.63 0.57 0.50 10 8 6 5 5.20 7.43 9.50 14 10 7.33 6 6.67 8 10 6 2 10 16 24 AC = AFC + AVC AFC = TFC /Q TC = TFC + TVC MC = TC / Q AVC = TVC /Q

พื้นที่เท่ากับ TFC พื้นที่เท่ากับ AFC TC AC, MC Q TC TVC TFC MC AC AVC

ปัจจัยทุกอย่างเป็นปัจจัยผันแปร ต้นทุนหน่วยสุดท้ายระยะยาว (LMC) เป็นการตัดสินใจภายใต้เงื่อนไขการผลิตที่เหมาะสมคือมีต้นทุนต่ำที่สุด ขณะเดียวกันได้ผลผลิตสูงสุด ซึ่งก็คือ LAC = LMC ต้นทุนรวมระยะยาว (LTC) ตัดสินใจเลือกใช้ปัจจัยการผลิตทุกประเภทภายใต้เงื่อนไขการเสียต้นทุนต่ำที่สุด ซึ่งแสดงด้วยเส้น Isoquant และ Isocost ต้นทุนเฉลี่ยรวมระยะยาว (LAC) เส้น AC เป็นเส้นเดียวกันกับเส้น AVC เนื่องจากในระยะยาวไม่มีต้นทุนคงที่ จึงพิจารณาจากโรงงานที่เสียต้นทุนต่ำที่สุด การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตระยะยาว ปัจจัยทุกอย่างเป็นปัจจัยผันแปร LMC การวิเคราะห์ทุกอย่างจะเป็นเรื่องการใช้ปัจจัยการผลิตให้เสียต้นทุนต่ำที่สุด และให้เหมาะสมกับการผลิตแต่ละระดับ AC3 MC3 MC1 AC1 MC2 AC2 LAC

รายรับส่วนเพิ่ม (Marginal Revenue) MR = TR / Q โดยที่ TR = อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายรับรวม Q = อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณสินค้าและบริการ รายรับ (Revenue) รายรับเฉลี่ย (Average Revenue) AR = TR / Q โดยที่ TR = รายรับรวม Q = ปริมาณสินค้าและบริการ หมายถึงจำนวนเงินที่ได้รับจากการขายสินค้า และบริการ ซึ่งมีมูลค่าเท่ากับ ราคา x ปริมาณสินค้า (P x Q) รายรับรวม (Total Revenue) TR = P x Q โดยที่ P = ราคาสินค้าและบริการ Q = ปริมาณสินค้าและบริการ

เงื่อนไขการได้รับกำไรสูงสุด Slope TR = Slope TC หรือ MR = MC เงื่อนไขการได้รับกำไรสูงสุด กำไรสูงสุดจะได้ต่อเมื่อรายรับรวม (TR) มีมากกว่าต้นทุนรวม (TC)  = TR > TC TC TR  = TR = TC 