โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมดุลเคมี.
Advertisements

ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
H จะเข้าที่ C ที่มี H มากกว่า และ X จะเข้าที่ C ที่มี H น้อยกว่า
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
เฉลยการบ้าน Stereochemistry
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
ทบทวนเรื่องความเสถียรของอัลคีน
3. Hinzberg test เป็นปฏิกิริยาของ Amines
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สมบัติของสารและการจำแนก
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
พันธะเคมี Chemical bonding.
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
การทดลองที่ 5 Colligative property
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เคมีอินทรีย์ แอลไคน์ และแอลคาไดอีน
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
Periodic Table.
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง เคมีไฟฟ้า.
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
สังกะสี แคดเมียม.
ACID-BASE เราไปกันเลย Jutimat Rattanapan.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เคมี ม.5 ว30223 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ครูธนพล ถัดทะพงษ์
การจำแนกประเภทของสาร
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
พันธะเคมี.
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
ธาตุและสารประกอบ จัดทำโดย เด็กหญิงสุปราณี เทียนทอง
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
การคำนวณหาค่าคงที่สมดุล
มลภาวะ (pollution).
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
ทฤษฎีกรด-เบส โดย อาจารย์ วิชัย ลาธิ.
General Chemistry Quiz 9 Chem Rxn I.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร ปฏิกิริยาเคมี โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร

ปฏิกิริยาเคมี กระบวนการที่สารมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกิดเป็นสารใหม่ สารใหม่ที่เกิดขึ้นมีสมบัติแตกต่างจากสารเดิม การเกิดปฏิกิริยาเคมีสังเกตได้จากการเปลี่ยนสี การเกิดตะกอน หรือมีฟองแก๊ส เป็นต้น

การเกิดปฏิกิริยาเคมี อะลูมิเนียมทำปฏิกริยากับกรดไฮโดรคลอริกเกิดแก๊สไฮโดรเจน

การเกิดปฏิกิริยาเคมี โลหะทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนเกิดสารประกอบออกไซด์ของโลหะ

การเกิดปฏิกิริยาเคมี สารละลายเลด(II)ไนเทรต ทำปฏิกิริยากับสารละลาย โพแทสเซียมไอโอไดด์เกิด ตะกอนสีเหลืองของ เลด(II)ไอโอไดด์ Click ชมภาพยนตร์

สมการเคมี การเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกี่ยวข้องกับการจัดเรียงตัวของอะตอมทำให้เกิดสารใหม่ เช่น แก๊สมีเทนทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนเกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และไอน้ำ

ปฏิกิริยาเคมีสามารถแสดงในรูปของสมการเคมี สมการเคมีเป็นการเขียนสัญลักษณ์หรือสูตรเคมีเพื่ออธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยาเคมี เช่น 2NaHCO3 ความร้อน Na2CO3 + H2O + CO2

สมการเคมี โดยทั่วไปสมการเคมีเขียนได้ดังนี้ สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ สารตั้งต้นคือสารที่ปรากฏตอนเริ่มต้นก่อนเกิดปฏิกิริยา ผลิตภัณฑ์คือสารที่ปรากฏหลังการเกิดปฏิกิริยา

สมการเคมี สมการเคมีแสดงรายละเอียดดังนี้ สูตรเคมีของสารที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยา สัญลักษณ์แสดงสถานะของสารและทิศทางการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวเลขสัมประสิทธิ์ข้างหน้าสารตั้งต้นหรือผลิตภัณฑ์แสดงจำนวนโมลของสารในสมการ

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนปฏิกิริยาเคมี

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนปฏิกิริยาเคมี ความหมาย ผลิตหรือทำให้เกิด

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนปฏิกิริยาเคมี ความหมาย ผลิตหรือทำให้เกิด (g) สถานะแก๊ส

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนปฏิกิริยาเคมี ความหมาย ผลิตหรือทำให้เกิด (g) สถานะแก๊ส (l) สถานะของเหลว

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนปฏิกิริยาเคมี ความหมาย ผลิตหรือทำให้เกิด (g) สถานะแก๊ส (l) สถานะของเหลว (s) สถานะของแข็ง

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนปฏิกิริยาเคมี ความหมาย ผลิตหรือทำให้เกิด (g) สถานะแก๊ส (l) สถานะของเหลว (s) สถานะของแข็ง (aq) สารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย หรือ ปฏิกิริยาผันกลับ

จากปฏิกิริยา Zn (s) + 2 HCl (aq) ZnCl2 (aq) + H2 (g) แสดงว่า Zn ที่เป็นของแข็ง 1 โมล ทำปฏิกิริยากับ HCl ซึ่งเป็นสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย 2 โมล ได้เป็น ZnCl2 ที่ละลายอยู่ในน้ำ 1 โมลกับแก๊ส H2 1 โมล

จากปฏิกิริยา 2 Na (s) + 2 H2O (l) 2 NaOH (aq) + H2 (g) แสดงว่า Na ที่เป็นของแข็ง 1 โมล ทำปฏิกิริยากับ H2O ซึ่งเป็นของเหลว 2 โมล ได้เป็น NaOH ที่ละลายอยู่ในน้ำ 1 โมลกับแก๊ส H2 1 โมล

จากปฏิกิริยา 2 BaCl2 (aq) + 2 Na2SO4 (aq) 2 NaCl (aq) + Ba2SO4 (s) แสดงว่า BaCl2 ที่ละลายอยู่ในน้ำ 2 โมล ทำปฏิกิริยากับ Na2SO4ที่ละลายอยู่ในน้ำ 1 โมล ได้เป็น NaCl ที่ละลายอยู่ในน้ำ 2 โมลกับ Ba2SO4 ที่เป็นของแข็ง 1 โมล

จากปฏิกิริยา CH3COOH (aq) + H2O(l) H3O+ (aq) + CH3COO-(aq) แสดงว่า

จากปฏิกิริยา NH3 (aq) + H2O(l) NH4+ (aq) + OH-(aq) แสดงว่า

จากปฏิกิริยา N2 (g) + 3 H2 (g) 2 NH3 (g) แสดงว่า

สมการเคมี เขียนได้ 2 แบบ ดังนี้ สมการโมเลกุล แสดงสูตรโมเลกุลของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา รวมทั้งแสดงสถานะและจำนวน โมลของสารด้วย เช่น N2 (g) + 3 H2 (g) 2 NH3 (g)

สมการไอออนิก เขียนแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในระดับไอออนในกรณีที่สารเป็นสารประกอบ ไอออนิก เช่น Ca2+ (aq) + CO3 2-(aq) CaCO3 (s)

การดุลสมการเคมี จากกฎทรงมวล สสารไม่สามารถสร้างขึ้นหรือถูกทำลายระหว่างการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในสมการเคมีอะตอมของธาตุชนิดใด ๆ ที่อยู่ด้านซ้ายลูกศรต้องเท่ากับอะตอมดังกล่าวที่อยู่ทางขวาของลูกศร

การดุลสมการเคมี คือการทำให้จำนวนอะตอมของธาตุชนิดเดียวกันทางด้านซ้ายเท่ากับทางด้านขวา ทำได้ดังนี้ เขียนสมการเคมี เขียนจำนวนอะตอมหรือไอออนแต่ละชนิดที่ปรากฏในแต่ละด้านของสมการ ปรับจำนวนอะตอมหรือไอออนให้เท่ากันโดยเพิ่มเลขสัมประสิทธิ์ แต่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงสัญลักษณ์และสูตรเคมี

การดุลสมการเคมี หลักการดุลสมการเคมีอย่างง่าย ดุลจำนวนอะตอมของโลหะในโมเลกุลขนาดใหญ่ ดุลจำนวนอะตอมของอโลหะ ดุลจำนวนอะตอมของ H และ O

H = 2 H = 2 O = 1 O = 2 ดุลสมการ × 2 × 2 × 2 H2 (g) + O2 (g) H2O (g) 2

ดุลสมการ × 2 × 2 CaCO3 (s) + HCl (aq) CaCl2 (aq) + H2O (l) + CO2 (g)

ดุลสมการ N2 (g) + H2 (g) 3 2 NH3 (g) N = 2 H = 2 N = 1 H = 3 x 2 x 3

ดุลสมการ HClO4 (aq) + Ca(OH)2 (aq) Ca(ClO4)2 (aq) + H2O (l) ให้เวลาคิด 5 นาที 2 HClO4 (aq) + Ca(OH)2 (aq) Ca(ClO4)2 (aq) + 2 H2O (l)

ดุลสมการ H3PO4 (aq) + NaOH (aq) Na3PO4 (aq) + H2O (l) ให้เวลาคิด 3 นาที H3PO4 (aq) + 3 NaOH (aq) Na3PO4 (aq) + 3 H2O (l) ฝึกทำแบบฝึกหัดนะค่ะ ข้อ 2 ทำเป็นการบ้าน Click