โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร ปฏิกิริยาเคมี โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
ปฏิกิริยาเคมี กระบวนการที่สารมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกิดเป็นสารใหม่ สารใหม่ที่เกิดขึ้นมีสมบัติแตกต่างจากสารเดิม การเกิดปฏิกิริยาเคมีสังเกตได้จากการเปลี่ยนสี การเกิดตะกอน หรือมีฟองแก๊ส เป็นต้น
การเกิดปฏิกิริยาเคมี อะลูมิเนียมทำปฏิกริยากับกรดไฮโดรคลอริกเกิดแก๊สไฮโดรเจน
การเกิดปฏิกิริยาเคมี โลหะทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนเกิดสารประกอบออกไซด์ของโลหะ
การเกิดปฏิกิริยาเคมี สารละลายเลด(II)ไนเทรต ทำปฏิกิริยากับสารละลาย โพแทสเซียมไอโอไดด์เกิด ตะกอนสีเหลืองของ เลด(II)ไอโอไดด์ Click ชมภาพยนตร์
สมการเคมี การเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกี่ยวข้องกับการจัดเรียงตัวของอะตอมทำให้เกิดสารใหม่ เช่น แก๊สมีเทนทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนเกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และไอน้ำ
ปฏิกิริยาเคมีสามารถแสดงในรูปของสมการเคมี สมการเคมีเป็นการเขียนสัญลักษณ์หรือสูตรเคมีเพื่ออธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยาเคมี เช่น 2NaHCO3 ความร้อน Na2CO3 + H2O + CO2
สมการเคมี โดยทั่วไปสมการเคมีเขียนได้ดังนี้ สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ สารตั้งต้นคือสารที่ปรากฏตอนเริ่มต้นก่อนเกิดปฏิกิริยา ผลิตภัณฑ์คือสารที่ปรากฏหลังการเกิดปฏิกิริยา
สมการเคมี สมการเคมีแสดงรายละเอียดดังนี้ สูตรเคมีของสารที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยา สัญลักษณ์แสดงสถานะของสารและทิศทางการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวเลขสัมประสิทธิ์ข้างหน้าสารตั้งต้นหรือผลิตภัณฑ์แสดงจำนวนโมลของสารในสมการ
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนปฏิกิริยาเคมี
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนปฏิกิริยาเคมี ความหมาย ผลิตหรือทำให้เกิด
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนปฏิกิริยาเคมี ความหมาย ผลิตหรือทำให้เกิด (g) สถานะแก๊ส
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนปฏิกิริยาเคมี ความหมาย ผลิตหรือทำให้เกิด (g) สถานะแก๊ส (l) สถานะของเหลว
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนปฏิกิริยาเคมี ความหมาย ผลิตหรือทำให้เกิด (g) สถานะแก๊ส (l) สถานะของเหลว (s) สถานะของแข็ง
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนปฏิกิริยาเคมี ความหมาย ผลิตหรือทำให้เกิด (g) สถานะแก๊ส (l) สถานะของเหลว (s) สถานะของแข็ง (aq) สารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย หรือ ปฏิกิริยาผันกลับ
จากปฏิกิริยา Zn (s) + 2 HCl (aq) ZnCl2 (aq) + H2 (g) แสดงว่า Zn ที่เป็นของแข็ง 1 โมล ทำปฏิกิริยากับ HCl ซึ่งเป็นสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย 2 โมล ได้เป็น ZnCl2 ที่ละลายอยู่ในน้ำ 1 โมลกับแก๊ส H2 1 โมล
จากปฏิกิริยา 2 Na (s) + 2 H2O (l) 2 NaOH (aq) + H2 (g) แสดงว่า Na ที่เป็นของแข็ง 1 โมล ทำปฏิกิริยากับ H2O ซึ่งเป็นของเหลว 2 โมล ได้เป็น NaOH ที่ละลายอยู่ในน้ำ 1 โมลกับแก๊ส H2 1 โมล
จากปฏิกิริยา 2 BaCl2 (aq) + 2 Na2SO4 (aq) 2 NaCl (aq) + Ba2SO4 (s) แสดงว่า BaCl2 ที่ละลายอยู่ในน้ำ 2 โมล ทำปฏิกิริยากับ Na2SO4ที่ละลายอยู่ในน้ำ 1 โมล ได้เป็น NaCl ที่ละลายอยู่ในน้ำ 2 โมลกับ Ba2SO4 ที่เป็นของแข็ง 1 โมล
จากปฏิกิริยา CH3COOH (aq) + H2O(l) H3O+ (aq) + CH3COO-(aq) แสดงว่า
จากปฏิกิริยา NH3 (aq) + H2O(l) NH4+ (aq) + OH-(aq) แสดงว่า
จากปฏิกิริยา N2 (g) + 3 H2 (g) 2 NH3 (g) แสดงว่า
สมการเคมี เขียนได้ 2 แบบ ดังนี้ สมการโมเลกุล แสดงสูตรโมเลกุลของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา รวมทั้งแสดงสถานะและจำนวน โมลของสารด้วย เช่น N2 (g) + 3 H2 (g) 2 NH3 (g)
สมการไอออนิก เขียนแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในระดับไอออนในกรณีที่สารเป็นสารประกอบ ไอออนิก เช่น Ca2+ (aq) + CO3 2-(aq) CaCO3 (s)
การดุลสมการเคมี จากกฎทรงมวล สสารไม่สามารถสร้างขึ้นหรือถูกทำลายระหว่างการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในสมการเคมีอะตอมของธาตุชนิดใด ๆ ที่อยู่ด้านซ้ายลูกศรต้องเท่ากับอะตอมดังกล่าวที่อยู่ทางขวาของลูกศร
การดุลสมการเคมี คือการทำให้จำนวนอะตอมของธาตุชนิดเดียวกันทางด้านซ้ายเท่ากับทางด้านขวา ทำได้ดังนี้ เขียนสมการเคมี เขียนจำนวนอะตอมหรือไอออนแต่ละชนิดที่ปรากฏในแต่ละด้านของสมการ ปรับจำนวนอะตอมหรือไอออนให้เท่ากันโดยเพิ่มเลขสัมประสิทธิ์ แต่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงสัญลักษณ์และสูตรเคมี
การดุลสมการเคมี หลักการดุลสมการเคมีอย่างง่าย ดุลจำนวนอะตอมของโลหะในโมเลกุลขนาดใหญ่ ดุลจำนวนอะตอมของอโลหะ ดุลจำนวนอะตอมของ H และ O
H = 2 H = 2 O = 1 O = 2 ดุลสมการ × 2 × 2 × 2 H2 (g) + O2 (g) H2O (g) 2
ดุลสมการ × 2 × 2 CaCO3 (s) + HCl (aq) CaCl2 (aq) + H2O (l) + CO2 (g)
ดุลสมการ N2 (g) + H2 (g) 3 2 NH3 (g) N = 2 H = 2 N = 1 H = 3 x 2 x 3
ดุลสมการ HClO4 (aq) + Ca(OH)2 (aq) Ca(ClO4)2 (aq) + H2O (l) ให้เวลาคิด 5 นาที 2 HClO4 (aq) + Ca(OH)2 (aq) Ca(ClO4)2 (aq) + 2 H2O (l)
ดุลสมการ H3PO4 (aq) + NaOH (aq) Na3PO4 (aq) + H2O (l) ให้เวลาคิด 3 นาที H3PO4 (aq) + 3 NaOH (aq) Na3PO4 (aq) + 3 H2O (l) ฝึกทำแบบฝึกหัดนะค่ะ ข้อ 2 ทำเป็นการบ้าน Click