ชุมชนน้ำด้วน 1 ร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์พัฒนา การเรียนการสอนโรงเรียนในฝัน
Advertisements

บูรณาการสู่ความสำเร็จ
วาระการประชุม แนวทางการพัฒนาโครงการรณรงค์ ลดการใช้น้ำมันทอดซ้ำเพื่อผลิตไบโอดีเซล วันที่ 16 พ.ค. 56 ณ ห้องประชุมสุมนทา วาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ทราบ.
วันพฤหัสบดีที่ 29 มีนาคม 2555 เวลา น
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
RID INNOVATION 2011 ระบบฐานข้อมูล รายงานสถานการณ์น้ำรายวัน สำนักชลประทานที่ 14.
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
รายงานผลการเยี่ยมพื้นที่ กิจกรรม R2 กีฬาสัมพันธ์ต้านยาเสพติด วันที่ 14 เมษายน 2555 ณ บ้านปะตาบาระ หมู่ 1 ตำบลปะเสยะวอ อ.สายบุรี จ.ปัตตานี
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
โครงการสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน Healthy Workplace
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
ว่าท่านพ่นสารเคมีแล้วจะควบคุมโรคไข้เลือดออกได้
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
โครงสร้างองค์กรบริหารจัดการลุ่มน้ำ
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
การนำข้อมูลอุบัติเหตุ สู่ Action
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
กลุ่มที่ 1.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
จังหวะก้าวงานสร้างสุข ๓ ปี
ปัญหาของการจัดการน้ำคือ อะไร เพราะเหตุใด ประชาชนจะร่วมกันจัดการ น้ำได้อย่างไร ใครบ้างที่ควรเข้ามาร่วม คำถาม.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
Service ทางสบาย สภาพไร้หลุมบ่อ มองถึงความราบเรียบไม่เป็นหลุมบ่อของถนน ด้าน ทางสบายนี้เป็นความต้องการพื้นฐานของ ประชาชน / ผู้ใช้ถนน จึงมีความจำเป็นที่จะต้องดูแล.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
กลุ่มที่ 6 วัดเขาทุเรียน ( วัดสีชมพู ) สุดยอดส้วม ระดับประเทศปี 2552 ประเภท ศาสนสถาน.
สำนักงานกศน.จังหวัดพัทลุง
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
การจัดทำแผนชุมชน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชุมชนน้ำด้วน 1 ร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน สำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ ( สคอ. )

สรุปผลการดำเนินงานโครงการชุมชน ร่วมใจสร้างความปลอดภัยทางถนน สรุปผลการดำเนินงานโครงการชุมชน ร่วมใจสร้างความปลอดภัยทางถนน ชุมชนบ้านน้ำด้วน 1 เทศบาลตำบลวังทอง หมู่ที่ 3 ตำบลวังทอง อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก

แผนที่ชุมชนบ้านน้ำด้วน 1 จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 91 ครัวเรือน มีสมาชิกในชุมชน 463 คน อาชีพส่วนใหญ่ รับจ้าง

สถิติการเกิดอุบัติเหตุ / ครั้ง ปีงบประมาณ ในเขต สภ.อ.วังทอง เทศบาล ตำบลวังทอง ชุมชน บ้านน้ำด้วน 1 เล็กน้อย เป็นคดี ปี 2549 (1 ต.ค.48.-30 ก.ย.49.) ไม่มีข้อมูล 53 30 2 20 ไม่มี ปี 2550 (1 ต.ค.49.-30 ก.ย.50.) 51 10 5 ปี 2551 (1 ต.ค.50.-30 ก.ค.51.) 25 3 (ข้อมูลจากสำนักงานตำรวจภูธรอำเภอวังทอง)

สภาพทั่วๆ ไปของชุมชนบ้านน้ำด้วน 1... ภาพก่อนดำเนินการ

ร่วมกันจัดทำและติดตั้งป้ายจราจร บริเวณทางแยกภายในชุมชน

ร่วมกันพัฒนา ตกแต่งภูมิทัศน์รอบชุมชน

ช่วยกันล้างถนน และทำความสะอาดขอบถนนบริเวณรอบชุมชนบ้านน้ำด้วน 1

บริเวณรอบชุมชนบ้านน้ำด้วน 1 ทาสีขอบถนน บริเวณรอบชุมชนบ้านน้ำด้วน 1

จัดทำเส้นเตือนชะลอความเร็วก่อนถึงลูกระนาดถนนโดยชุมชน

ประสานหน่วยงานอื่น ๆ ติดตั้งกระจกนูน รณรงค์การสวมหมวกกันน๊อก ประสานตำรวจการจราจร ทำป้ายต้นไม้พูดได้ ฯลฯ

กิจกรรมการรณรงค์ขับขี่ปลอดภัยในเขตเทศบาลตำบลวังทองโดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ทั้งหน่วยงานราชการและประชาชน

อื่นๆ... ประสานตำรวจตรวจสอบวันละ 1 เที่ยว ให้ประชาชนช่วยตรวจสอบดูแล เป็นหูเป็นตา หน้าบ้านตัวเอง ประชุม ชุมชน และชาวบ้านเดือนละ 1 ครั้ง จัดหาวิทยากร แนะนำให้ความรู้ 3 เดือน/ครั้ง ชุมชนมีการประสานงานกับทางเทศบาลอย่างต่อเนื่อง มีการประชุม เดือนละ 1 ครั้ง กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ประสานเทศบาล , 1669 , อสม.

ภาพหลังจากดำเนินการแล้วเสร็จ สวยงาม น่าอยู่ ปลอดภัย ไร้อุบัติเหตุ

สภาพโดยทั่วไป ในชุมชนบ้านน้ำด้วน

จุดเสี่ยงได้รับการแก้ไข

แผนการดำเนินงานในอนาคต - รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาป้ายสัญลักษณ์ต่าง ๆ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง - ปรับปรุงป้ายสัญลักษณ์หากมีการเลื่อมสภาพให้มองเห็นได้อย่างชัดเจน - เผยแพร่รณรงค์ให้เยาวชนและคนรุ่นใหม่ในชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วม ในการรับผิดชอบแผนงานโครงการต่าง ๆ ในชุมชน โดยเริ่มชักชวนเข้ามา ประชุมรับฟังข้อมูลต่าง ๆ เมื่อมีการประชุมและช่วยดูแลรถน้ำ ทาสี เป็นต้น - เป็นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงานให้กับชุมชนใกล้เคียงและประชาชนทั่วไปในการ ดำเนินงานด้านจัดระเบียบชุมชนร่วมใจสร้างความปลอดภัยทางถนน

เป็นตัวอย่างความสำเร็จจากภาคประชาสังคม

ชุมชนน้ำด้วน อ.วังทอง จ.พิษณุโลก

ด้วยพลังของชุมชุน

บทสรุป ปัญหาที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นชุมชน คนในพื้นที่แก้ไขได้ดีและตรงจุดกว่า การแก้ไขปัญหาโดยภาคประชาสังคม ประหยัด ตรงประเด็น ยั่งยืน เมื่อประชาสังคมลุกขึ้นมาจัดการกับปัญหา ความสูญเสียก็หมดไป ภาครัฐทำหน้าที่หนุนเสริม งานวิชาการ , งบประมาณ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง