กลุ่มอำนวยการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การบริหารกองทุนหลักประกัน สุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ภายใต้ประกาศการดำเนินงาน กองทุนฯปี 2557.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
จำลอง บุญเรืองโรจน์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต ๑วันที่ ๒ มิถุนายน พ. ศ. ๒๕๕๘.
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
นางสาวลิลิน ทรงผาสุก ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการจัดทำรายงาน การควบคุมภายในประจำปี 2561
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
การจัดการเรียนการสอนภายในหน่วยงาน (Unit School)
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
แนวทางการจัดทำรายงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
1.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
จังหวัดสมุทรปราการ.
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มอำนวยการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2 แนวทางการจัดทำรายงาน การติดตามประเมินผล การควบคุมภายในประจำปี 2562 ของสถานศึกษา กลุ่มอำนวยการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2 ดาวน์โหลดเอกสารที่เกี่ยวข้อง ในเว็บไซต์ cpn2.go.th หัวข้อ ดาวน์โหลด เลือก เอกสารกลุ่มอำนวยการ เลือก การติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562

กฎ ระเบียบ และแนวทางที่เกี่ยวข้อง พรบ.วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ.2561 มาตรา 79 บัญญัติ ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการตรวจสอบภายใน การควบคุม ภายในและการบริหารการจัดการความเสี่ยง โดยให้ถือปฏิบัติ ตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2561 แนวทางปฏิบัติงานควบคุมภายในของ สพฐ. “เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่า จะบรรลุวัตถุประสงค์ด้านการดำเนินงาน ด้านการรายงานและด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับ”

แนวทางการจัดทำรายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในประจำปี 2562 ของสถานศึกษา ระดับหน่วยงาน ระดับหน่วยงานย่อย โรงเรียน งานบริหารทั่วไป งานบริหารงบประมาณ งานบริหารบุคคล งานบริหารวิชาการ แบ่งการดำเนินงานเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน 2562

แนวทางการดำเนินการ (ระดับหน่วยงาน:โรงเรียน) 1. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปี 2562 คณะกรรมการฝ่ายอำนวยการ ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน ประธาน รองผู้อำนวยการโรงเรียน (ถ้ามี) รองประธาน หัวหน้างาน ทุกงาน กรรมการ หัวหน้างานบริหารทั่วไป กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ อำนวยการในการประเมินผลและกำหนดแนวทางการประเมินผลการควบคุมภายใน ให้เป็นไปตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2561

แนวทางการดำเนินการ (ระดับหน่วยงาน:โรงเรียน) 1. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปี 2562(ต่อ) คณะกรรมการดำเนินงาน ประกอบด้วย 1. ผู้อำนวยการโรงเรียน ประธาน 2. รองผู้อำนวยการโรงเรียน (ถ้ามี) รองประธาน 3. หัวหน้างาน ทุกงาน กรรมการ 4. หัวหน้างานบริหารทั่วไป กรรมการและเลขานุการ 5. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานควบคุมภายใน กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ มีหน้าที่ รวบรวมกลั่นกรองและสรุปผลการประเมินการควบคุมภายในในภาพรวม ประสานงานจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในระดับหน่วยงาน (แบบ ปค. 1 แบบประเมิน 5 องค์ประกอบ ปค.4 ปค.5 และแบบติดตาม ปค.5)

แนวทางการดำเนินการ (ระดับหน่วยงาน:โรงเรียน) 1. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปี 2562(ต่อ) คณะกรรมการจัดทำรายงานประเมินผลการควบคุมภายในหน่วยงานย่อย ประกอบด้วย 1. หัวหน้างาน ทุกงาน ประธาน 2. บุคลากรของของแต่ละงาน กรรมการ 3. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานควบคุมภายในของแต่ละงาน กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ รวบรวมกลั่นกรองและสรุปผลการประเมินการควบคุมภายในของแต่ละงาน ประสานงานจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในระดับหน่วยงานย่อย (แบบ CSA ปค.5 และแบบติดตาม ปค.5)

แนวทางการดำเนินการ (ระดับหน่วยงานย่อย:งานต่างๆ) 1. นําแบบ ปค. 5 (ของปีงบประมาณ 2561) มาติดตามผลการดําเนินงานว่าได้ดําเนินการตามแผนการปรับปรุงหรือไม่ ผลเป็นอย่างไร แล้วสรุปลงในแบบติดตาม ปค. 5 แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง -แบบ ปค. 5 (ของปีงบประมาณ 2561) -แบบติดตาม ปค. 5

แบบ ปค. 5 (หน่วยงานย่อย ปีงบประมาณ 2561)

แบบติดตาม ปค. 5 (หน่วยงานย่อย)

แนวทางการดำเนินการ (ระดับหน่วยงานย่อย:งานต่างๆ) 2. นํากิจกรรม/งานในระดับหน่วยงานย่อยมาวิเคราะห์ หาความเสี่ยงตามแบบประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง (แบบ CSA) (ให้แต่ละงานนำภารกิจที่มีแนวโน้มที่จะมีความเสี่ยงในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ที่ผ่านมา มาวิเคราะห์ลงในแบบ CSA เลือกมางานละ 1 เรื่องหรือจะมากกว่า 1 เรื่องก็ได้ถ้าอยากจะทำให้เรื่องนั้นๆ มีการควบคุมความเสี่ยงเพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ของงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น) แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง -แบบประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง (แบบ CSA)

การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง Control self Assessment (CSA)

แบบประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง (แบบ CSA) หน่วยงานย่อย

แบบประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง (แบบ CSA) หน่วยงานย่อย (ต่อ)

แบบประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง (แบบ CSA) หน่วยงานย่อย (ต่อ)

แบบประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง (แบบ CSA) หน่วยงานย่อย (ต่อ)

แนวทางการดำเนินการ (ระดับหน่วยงานย่อย:งานต่างๆ) 3. เมื่อดําเนินการตามข้อ 1-2 เรียบร้อยแล้ว ให้นํากิจกรรม/งานที่ผลการดําเนินงานยังไม่ลดความเสี่ยงลงตามข้อ 1 และกิจกรรม/งานที่เป็นความเสี่ยงที่พบใหม่ตามข้อ 2 มาหามาตรการ/แนวทางการปรับปรุงแล้วกําหนดผู้รับผิดชอบและระยะเวลาที่ดําเนินการเสร็จ แล้วสรุปลงใน แบบ ปค. 5 *ขยายความ* 1.หากวิเคราะห์ความเสี่ยงของปีที่แล้ว (ปค.5 ปีที่แล้วยังไม่ลดความเสี่ยง )ให้หามาตรการ/แนวทางการปรับปรุงความเสี่ยง กำหนดผู้รับผิดชอบและระเวลาที่ดำเนินการ สรุปเป็น ปค.5 ของปี 2562 2.สรุปความเสี่ยงที่พบตามแบบประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง แบบ csa ลงใน แบบ ปค.5 สรุปเป็น ปค.5 ของปี 2562

แนวทางการดำเนินการ (ระดับหน่วยงานย่อย:งานต่างๆ) 4. จัดส่งแบบ ปค. 5 และแบบติดตาม ปค. 5 ให้ผู้รับผิดชอบของหน่วยงาน(ระดับโรงเรียน) (ปค.5 อาจจะมีหลายเรื่องขึ้นอยู่กับความเสี่ยงที่วิเคราะห์ได้ เช่น ปค.5 ของเดิมยังไม่ลดความเสี่ยงจึงนำมาปรับปรุงใหม่ เป็น 1 เรื่อง และประเมินตนเองพบความเสี่ยงใหม่อีก 1 เรื่อง แบบติดตามปค.5 ก็อาจจะมีหลายเรื่องขึ้นกับแต่ละงานว่าทำแบบปค.5 ระดับหน่วยงานย่อยของ ปี 2561 กี่เรื่อง)

แนวทางการดำเนินการ (ระดับหน่วยงาน:โรงเรียน) 2.นําแบบ ปค.5 (ของปีงบประมาณ 2561) มาติดตามผลการดําเนินงานว่าได้ดําเนินการตามแผนการปรับปรุงหรือไม่ ผลเป็นอย่างไร แล้วสรุปลงในแบบติดตาม ปค. 5 *ขยายความ* เป็นแบบ ปค.5 ปีที่แล้วเป็น ปค.5 ในระดับโรงเรียนที่ได้จัดส่งมาให้เขตพื้นที่เมื่อปีที่แล้วอาจจะมี 1 เรื่อง หรือหลายเรื่องก็ได้ และถ้าในบางโรงเรียนไม่พบความเสี่ยงเลยในปีที่แล้ว(ไม่มีแบบ ปค.5) ก็ไม่ต้องส่งแบบติดตามปค.5 มาให้เขตพื้นที่ฯ ในปีนี้ แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง -แบบ ปค. 5 (ของปีงบประมาณ 2561) -แบบติดตาม ปค. 5

แนวทางการดำเนินการ (ระดับหน่วยงาน:โรงเรียน) 3.ประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (5 องค์ประกอบ) ในระดับหน่วยงานแล้วสรุปลงในแบบ ปค. 4 แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง ประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (5 องค์ประกอบ) (เป็นการประเมินโดยละเอียดในแต่ละองค์ประกอบ) แบบ ปค. 4 (เป็นการสรุปจากการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (5 องค์ประกอบ))

1 ในคณะกรรมการดำเนินงาน แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (๕ องค์ประกอบ) 1 ในคณะกรรมการดำเนินงาน

แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (๕ องค์ประกอบ) (ต่อ)

แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (๕ องค์ประกอบ) (ต่อ)

แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (๕ องค์ประกอบ) (ต่อ)

แบบ ปค.4

แบบ ปค.4 (ต่อ)

แบบ ปค.4 (ต่อ)

แนวทางการดำเนินการ (ระดับหน่วยงาน:โรงเรียน) 4.เมื่อดําเนินการตามข้อ 1-3 เรียบร้อยแล้ว ให้นํากิจกรรม/งานที่ผลการดําเนินงานยังไม่ลดความเสี่ยงลงตามข้อ 2 และกิจกรรม/งานที่เป็นความเสี่ยงที่พบใหม่ตามข้อ 3 และแบบ ปค.5 ของกลุ่ม/งาน ที่ส่งมาให้หน่วยงานโดยให้คณะกรรมการร่วมกันพิจารณาคัดเลือกกิจกรรม/งานที่เป็นความเสี่ยงในระดับหน่วยงาน แล้วสรุปลงในแบบ ปค. 5 *ขยายความ* 1.ปค.5 ปี 2562 ระดับโรงเรียน จากความเสี่ยงที่ไม่ลดลงของ ปค.5 ปี 2561 2.ปค.5 ปี 2562 ระดับโรงเรียน จากความเสี่ยงใหม่ที่เกิดจาก แบบปค.4 3.ปค.5 ปี 2562 ระดับโรงเรียน จากการคัดเลือกของปค.5 ระดับหน่วยงานย่อย (หากเห็นว่าเป็นความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อภาพรวมของโรงเรียนทุกอันก็สามารถเลือกเป็น ปค.5 ระดับหน่วยงานได้ทุกเรื่อง) แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง แบบ ปค. 5

แบบ ปค. 5 (โรงเรียน ปีงบประมาณ 2562)

แบบ ปค. 5 (โรงเรียน ปีงบประมาณ 2562)(ต่อ)

แบบ ปค. 5 (โรงเรียน ปีงบประมาณ 2562) (ต่อ)

แบบ ปค. 5 (โรงเรียน ปีงบประมาณ 2562) (ต่อ)

แนวทางการดำเนินการ (ระดับหน่วยงาน:โรงเรียน) 5. นํารายละเอียดของกิจกรรม/งานที่ปรากฏในแบบ ปค.5 มาใส่ ในแบบ ปค. 1 6. โรงเรียนจัดส่งแบบ ปค. 1แบบ ปค.4 แบบ ปค.5 แบบติดตาม ปค.5 ให้ สพท. ภายในวันที่ ๓๑ ตุลาคม 2562 แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง แบบ ปค. 1

แบบ ปค. 1

แบบ ปค. 1 (ต่อ)

สรุปขั้นตอนการจัดทำรายงาน -หน่วยงานย่อย (งาน) -หน่วยงาน (โรงเรียน) หน่วยงาน (โรงเรียน) -หน่วยงานย่อย (งาน) แบบ ปค.5 (ปี 61) ประเมิน 5 องค์ประกอบ แบบ CSA แบบ ปค.5 (กลุ่ม/งาน) แบบ ปค.4 แบบติดตาม ปค.5 แบบ ปค.5 (ปี 62) แบบ ปค.1

แบบรายงานของโรงเรียน หน่วยงาน (โรงเรียน) หน่วยงานย่อย (งาน) แบบรายงานที่ต้องจัดส่งให้ สพป.ชุมพร เขต 2 1. แบบ ปค.1 2. แบบ ปค.4 3. แบบ ปค.5 4. แบบติดตาม ปค.5 แบบรายงานที่เก็บไว้ในหน่วยงาน แบบประเมิน 5 องค์ประกอบ ส่ง สพป.ชุมพร เขต 2 ภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2562 แบบรายงานที่จัดส่งให้ผู้รับผิดชอบระดับโรงเรียน 1. แบบ ปค 5 2. แบบติดตาม ปค.5 แบบ CSA

Thank you หากโรงเรียนในสังกัด มีข้อสงสัยในการจัดทำรายงานการ ควบคุมภายใน สามารถติดต่อได้ที่ กลุ่มอำนวยการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชุมพร เขต 2 โทรศัพท์ 077 541 222 ต่อ 11