อัลกอริทึม (Algorithm) ???

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อัลกอริทึม ITS101 2/2011.
Advertisements

Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
ลักษณะโครงสร้างของผังงาน
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
รหัสเทียม (Pseudo Code)
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
WHILE..DO คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ โดยที่ต้องตรวจสอบเงื่อนไขก่อนที่จะทำ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของอัลกอริธึม (Performance Analysis)
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Flow Chart INT1103 Computer Programming
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
Programming & Algorithm
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
20 May 2556 Problem Analysis and Algorithms in Programming.
Problem Analysis and Algorithm (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิด)
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
Introduction to Flowchart
BC322 : Computer Programing (ครั้งที่ 1)
อัลกอริทึมและผังงาน อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Concept of Programing.
Data Structure & Algorithm Concept
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การแสดงขั้นตอนวิธีด้วยรหัสเทียม (Pseudo-Code)
คำอธิบายรายวิชา การเขียนผังงาน รหัสเทียม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง ชนิดตัวแปร ตัวดำเนินการทางตรรกะ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ.
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
“หลักการแก้ปัญหา”.
บทที่ 2 ขั้นตอนการทำงาน (Algorithm)
การออกแบบระบบ System Design.
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 13 การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code)
พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
Introduction to information System
Introduction to information System
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
บทที่ 2 อัลกอริธึมและการวิเคราะห์ปัญหา
introduction to Computer Programming
Problem Solving ขั้นตอนวิธีและการแก้ปัญหาสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
อัลกอริทึม (Algorithm ) ขั้นตอนวิธี
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Lecture no. 1: Introduction to Computer and Programming
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
อุทธรณ์,ฎีกา.
บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flowchart)
นายชลี ลีมัคเดช ทีมพัฒนาระบบฯ
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
การสร้างผังงานโปรแกรม
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา (Problem Analysis)
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อัลกอริทึม (Algorithm) ??? ขั้นตอนวิธี ทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ระเบียบวิธีการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน ทางคอมพิวเตอร์หมายถึง กระบวนการแก้ปัญหาต่างๆ อย่างมีขั้นตอนโดยใช้ทรัพยากรของระบบน้อยที่สุด และให้ได้ผลลัพธ์ตามที่เราต้องการ

อัลกอริทึม (Algorithm) ??? อัลกอริทึมแบบแตกย่อย (Divide-and-conquer) อัลกอริทึมแบบเคลื่อนที่(Dynamic Algorithm) อัลกอริทึมแบบทางเลือก(Greedy Algorithm)

ผังงาน (Flowchart) ??? คือ แผนภาพซึ่งแสดงลำดับขั้นตอนของการทำงาน โดยแต่ละขั้นตอนจะถูกแสดงโดยใช้สัญลักษณ์ซึ่งมีความหมายบ่งบอกว่า ขั้นตอนนั้น ๆ มีลักษณะการทำงาน ทำให้ง่ายต่อความเข้าใจ ว่าในการทำงานนั้นมีขั้นตอนอะไรบ้าง และมีลำดับอย่างไร

ผังงาน (Flowchart) ผังงานแบ่งได้ 2 ประเภท 1. ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทำงานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย 2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คำนวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์

โดยใช้บัตรเจาะรูเป็นสื่อ สัญลักษณ์ผังงาน รับข้อมูล,แสดงข้อมูล โดยใช้บัตรเจาะรูเป็นสื่อ เริ่มต้น - สิ้นสุด ประมวลผล รับข้อมูล,แสดงข้อมูลโดยใช้เทปแม่เหล็กเป็นสื่อ ตัดสินใจ แสดงผลลัพธ์ทางจอภาพ รับข้อมูล,แสดงข้อมูล

หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ 1. สิ่งที่โจทย์ต้องการ หมายถึง สิ่งที่ต้องการให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทำให้ เช่น ต้องการให้คำนวณคะแนนเฉลี่ยของ นักศึกษา ต้องการให้คำนวณเงินเดือนและค่าแรง เป็นต้น 2. ผลลัพธ์ที่ต้องแสดง (Output) หมายถึง การวิเคราะห์ ลักษณะของงาน หรือรูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการให้ คอมพิวเตอร์แสดงออกมาว่าควรจะมีลักษณะอย่างไร มี รายละเอียดที่ต้องการให้แสดงในรายงานมากน้อยเพียงใด

หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ 3. ข้อมูลที่ต้องการนำเข้า (Input) หมายถึง ข้อมูลที่ต้อง ป้อนเข้ามาเพื่อใช้ในการประมวลผล ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ ต่อเนื่องจากการวิเคราะห์ลักษณะของผลลัพธ์ 4. ตัวแปรที่ใช้ (Variable) หมายถึง การกำหนดชื่อแทน ความหมายของข้อมูลต่างๆ เพื่อความสะดวกในการอ้างถึง ข้อมูลนั้น

หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ 5. วิธีการประมวล (Processing) หมายถึง วิธีการประมวลผล โดยแสดงขั้นตอนต่าง ๆ ที่ต้องทำตามลำดับ เริ่มจากการรับ ข้อมูลนำไปประมวลผลจนได้ผลลัพธ์

ความสัมพันธ์ของขั้นตอนการทำงาน 1.การทำงานแบบลำดับ (Sequence Process) 2.โครงสร้างที่มีการทำงานแบบเลือกทำ (Selection Process) 3.การทำงานแบบเลือกทำได้หลายทาง 4.การทำงานแบบทำซ้ำในขณะที่เงื่อนไขเป็นจริง (WHILE-DO Process)

คำสั่งเทียม (Pseudo Code) ??? รหัสจำลองที่ใช้เป็นตัวแทนของอัลกอริทึม โดยมี ถ้อยคำหรือประโยคคำสั่งที่เขียนอยู่ในรูปแบบของ ภาษาอังกฤษที่ไม่ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์ใดภาษาหนึ่ง ตัวอย่างของคำสั่งเทียมที่ใช้มาก เช่น Begin End Start Stop Input Output