ธาตุกัมมันตรังสี.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่า ด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข การแจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำ เข้า ผู้ส่งออก.
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
โครเมี่ยม (Cr).
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ผังงาน..(Flow Chart) หมายถึง...
หลักการเลี้ยงสัตว์ คำบรรยาย โดย ครูสีกุน นุชชา
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
ฟิสิกส์นิวเคลียร์(Nuclear Physics)
ฟิสิกส์นิวเคลียร์.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การส่งกำลังบำรุงในระดับต่าง ๆ ของ ทบ.
เรื่อง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ. 2561
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
World Time อาจารย์สอง Satit UP
กูกลิเอลโม มาร์โคนี (Guglielmo Marcony).
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
Ernest Rutherford.
อะตอม และ ตารางธาตุ โดย อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 สารและสมบัติของสาร ว มัธยมศึกษาปีที่ 5.
รายงาน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์ จัดทำโดย นายนัฐวุฒิ สมพฤกษ์ เลขที่ 3
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
Nuclear Symbol kru piyaporn.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
ATOM AND STRUCTURE OF ATOM
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
บทที่ 8 การจดบันทึกและทำบัญชี
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ธาตุกัมมันตรังสี

Henri Becquerel Henri Becquerel (พ.ศ. 2395-2451) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศสได้รับรางวัลโนเบลทางฟิสิกส์ ในปีพ.ศ.2446 จากผลงานการค้นพบกัมมันตรังสีในธรรมชาติพร้อมกับปิแอร์และ มารี คูรี จากการค้นพบธาตุกัมมันตรังสีสองธาตุคือ เรเดียมและพอโลเนียม

Pierre Curie and Marie Curie Pierre Curie (พ.ศ. 2402-2449) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส Marie Curie นักฟิสิกส์ชาวโปแลนด์ สามี ภรรยาคู่นี้ทำงานทางด้านกัมมันตภาพรังสี และได้รับรางวัลโนเบลเช่นกัน เป็นที่น่าสังเกตว่า มาดามคูรีเสียชีวิตด้วยโรคลูคีเมีย หรือ มะเร็งในโลหิต ซึ่งอาจเนื่องมาจากการได้รับรังสีจากธาตุกัมมันตภาพรังสีเกินควรก็ได้

ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element) การเกิดกัมมันตภาพรังสี การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี ครึ่งชีวิต ปฏิกิริยานิวเคลียร์ การนำไปใช้ประโยชน์

รังสีที่ปล่อยออกมาส่วนใหญ่มี 3 ชนิด คือ ธาตุกัมมันตรังสี คือ ธาตุที่นิวเคลียสของอะตอมแผ่รังสีออกมา อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ซึ่งเรียกว่า กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity) และธาตุนั้นจะกลายเป็นธาตุใหม่ จนในที่สุดได้อะตอมที่เสถียร ซึ่งส่วนใหญ่เป็นธาตุที่มีเลขอะตอมมากกว่า 83 เช่น U-238 Th-232 Rn-222 รังสีที่ปล่อยออกมาส่วนใหญ่มี 3 ชนิด คือ รังสีแอลฟา รังสีบีต้า รังสีแกมมา

The behavior of three types of radioactive emissions in an electric field.

รัทเทอร์ฟอร์ดได้ศึกษาเพิ่มเติมและแสดงให้เห็นว่ารังสีที่ธาตุกัมมันตรังสีปล่อยมาอาจเป็นรังสีแอลฟา รังสีบีตา หรือรังสีแกมมา ซึ่งมีสมบัติต่างกัน รังสีแอลฟา   เป็นนิวเคลียสของฮีเลียม มีโปรตอนและนิวตรอนอย่างละ 2 อนุภาค มีประจุไฟฟ้า +2 มีอำนาจทะลุทะลวงต่ำมาก กระดาษเพียงแผ่นเดียวหรือสองแผ่นก็สามารถกั้นได้ รังสีบีตา  คือ อนุภาคที่มีสมบัติเหมือนอิเล็กตรอน คือ มีประจุไฟฟ้า -1 มีมวลเท่ากับอิเล็กตรอน มีอำนาจทะลุทะลวงสูงกว่ารังสีแอลฟา ประมาณ 100 เท่า สามารถผ่านแผ่นโลหะบางๆ ได้ เช่น แผ่นตะกั่วหนา 1 mm มีความเร็วใกล้เคียงความเร็วแสง รังสีแกมมา  เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นมาก ไม่มีประจุ ไม่มีมวล มีอำนาจทะลุทะลวงสูงสุด สามารถทะลุผ่านแผ่นไม้ โลหะและเนื้อเยื่อได้ แต่ถูกกั้นได้โดยคอนกรีตหรือแผ่นตะกั่วหนา

ชนิดและสมบัติของรังสีบางชนิด อำนาจการทะลุทะลวงของรังสี

สัญลักษณ์ ชนิดของประจุ และมวลของรังสี

การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี การแผ่รังสีแอลฟา เกิดกับนิวเคลียสที่มีสัดส่วนโปรตอนกับนิวตรอนไม่เหมาะสม

การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี การแผ่รังสีบีต้า เกิดกับนิวเคลียสที่มีจำนวนนิวตรอนมากกว่าโปรตอน

การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี การแผ่รังสีบีต้า (โพซิตรอน)

การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี การแผ่รังสีแกมมา เกิดกับไอโซโทปของกัมมันตรังสีที่มีพลังงานสูงมาก หรือไอโซโทปที่สลายให้รังสีแอลฟา และบีตา แต่ยังไม่เสถียรจนเกิดการเปลี่ยนแปลงในนิวเคลียสเพื่อให้พลังงานต่ำลง Ra

สมการนิวเคลียร์ (Nuclear equation) คือ สมการที่แสดงปฏิกิริยานิวเคลียร์ สมการต้องดุลด้วย ซึ่งการดุลสมการนั้น ต้องดุลทั้งเลขมวล และเลขอะตอมทั้งด้านซ้ายและขวาของสมการเคมีให้เท่ากัน กล่าวคือผลบวกของเลขมวลและเลขอะตอมของสารตั้งต้นเท่ากับของผลิตภัณฑ์ ดังตัวอย่าง

การดุลสมการนิวเคลียส์ เลขมวลเท่ากัน 1n U 235 92 + Cs 138 55 Rb 96 37 + 2 235 + 1 = 138 + 96 + 2 x 1 เลขอะตอมเท่ากัน 1n U 235 92 + Cs 138 55 Rb 96 37 + 2 92 + 0 = 55 + 37 + 2 x 0

จงเขียนสมการต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ ก. 2714Si X + 0-1e ข. 6629Cu Q + 0-1e ค. 2713Al + 42He 3014Si + _______ ง. 146C 136C + ________ จ. 22689Ac 22688Ra + ________ ฉ. 22689Ac 22287Fr + __________

Half-life ครึ่งชีวิต (half life) ของสารกัมมันตรังสี หมายถึง ระยะเวลาที่นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีสลายตัวจนเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม ใช้สัญลักษณ์เป็น t1/2 ครึ่งชีวิตเป็นสมบัติเฉพาะตัวของแต่ละไอโซโทป และสามารถใช้เปรียบเทียบอัตราการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีแต่ละชนิดได้

ตัวอย่าง ธาตุกัมมันตรังสีมีครึ่งชีวิต 30 วัน จะใช้เวลานานเท่าใดสำหรับการสลายไปร้อยละ 75 ของปริมาณตอนที่เริ่มต้น ถ้าเริ่มต้นมีธาตุกัมมันตรังสีอยู่ 100 g สลายตัวไป 75 g ดังนั้นต้องการให้เหลือธาตุนี้ 25 g เนื่องจากธาตุนี้มีครึ่งชีวิต 30 วัน 30 วัน 30 วัน ธาตุกัมมันตรังสี 100 g 50 g 25 g ดังนั้นต้องใช้เวลา 30 x 2 = 60 วัน สำหรับการสลายไปร้อยละ 75 ของปริมาณเริ่มต้น

แสดงว่าเมื่อเวลาผ่านไป 24 ชั่วโมง จะมี Tc-99 เหลืออยู่ 1.125 กรัม ตัวอย่าง จงหาปริมาณของ Tc-99 ที่เหลือเมื่อวาง Tc-99 จำนวน 18 กรัมไว้นาน 24 ชั่วโมง และ Tc-99 มีครึ่งชีวิต 6 ชั่วโมง 18hrs. Tc-99 18 g Tc-99 9 g Tc-99 4.5 g Tc-99 1.125 g Tc-99 2.25 g 6 hrs. 1 ครึ่งชีวิต 2 ครึ่งชีวิต 3 ครึ่งชีวิต 4 ครึ่งชีวิต 24 hrs. 12 hrs. แสดงว่าเมื่อเวลาผ่านไป 24 ชั่วโมง จะมี Tc-99 เหลืออยู่ 1.125 กรัม

ตัวอย่าง จงหาปริมาณ I - 131 เริ่มต้น เมื่อนำ I - 131 จำนวนหนึ่งมาวางไว้เป็นเวลา 40.5 วัน ปรากฏว่ามีมวลเหลือ 0.125 กรัม ครึ่งชีวิตของ I -131เท่ากับ 8.1 วัน สมมติ I -131 เริ่มต้นมี a กรัม I - 131 จำนวน a กรัม วางไว้ 40.5 วัน = 5 ครึ่งชีวิต ครึ่งชีวิตสุดท้าย I - 131 ที่เหลือมีมวล = 0.125 กรัม a 4 a 2 2 ครึ่งชีวิต 2 ครึ่งชีวิต 40.5 วัน 32.4 วัน a 16 a 32 a 8 I - 131 เริ่มต้นมีมวล = 4 g

ตัวอย่าง ธาตุกัมมันตรังสี A จำนวน 32 กรัม ถ้าทิ้งไว้นานเป็นเวลา 6 ปี ธาตุกัมมันตรังสี A จะเหลืออยู่ 4 กรัม จงหาครึ่งชีวิตของธาตุ A จากการเทียบจะพบว่าสารตั้งต้นมี 32 กรัม สลายตัวไปเพียง 3x จะเหลือ 4 กรัม ดังนั้น ครึ่งชีวิตของธาตุ A เป็น 2 ปี 3X = 6 X = 2 ดังนั้น ครึ่งชีวิตของธาตุ A = 2 ปี

เพิ่มเติมสูตรการหาครึ่งชีวิตของธาตุ N เหลือ = N เริ่มต้น 2n T = n t1/2 N เหลือ = กัมมันตรังสีที่เหลือ N เริ่มต้น = กัมมันตรังสีเริ่มต้น T = จำนวนเวลาที่ธาตุสลายตัว n = จำนวนครั้งในการสลายตัวของครึ่งชีวิต t1/2 = ระยะเวลาที่นิวเคลียสกัมมันตรังสีสลายตัวเหลือครึ่งหนึ่ง ของปริมาณเดิม (ครึ่งชีวิต)

ตัวอย่าง ธาตุกัมมันตรังสี X 20 กรัม สลายตัวไป 10 กรัม ภายในเวลา 30 วัน พบว่าหลังทิ้งธาตุ X ไว้ 150 วัน จะเหลือธาตุ X 300 กรัม อยากทราบว่า เริ่มต้นต้องนำธาตุกัมมันตรังสี X มากี่กรัม ธาตุ X 30 วัน เหลือธาตุ X 20 g 10 g จากสูตรความสัมพันธ์ ธาตุกัมมันตรังสี X มีครึ่งชีวิต 30 วัน ดังนั้น T = n t1/2 150 = n(30) n = 5 เพราะฉะนั้นหาธาตุ X เริ่มต้นได้ จาก ธาตุ X เริ่มต้น = 300 x 25 = 9,600 กรัม N เหลือ = N เริ่มต้น 2n

ปฏิกิริยานิวเคลียร์ เป็นปฏิกิริยาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอม แล้วได้นิวเคลียสของธาตุใหม่เกิดขึ้น และให้พลังงานจำนวนมหาศาล แบ่งออกได้ 2 ประเภท ดังนี้ 1. ปฏิกิริยาฟิชชัน (Fission reaction) 2. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Fussion reaction)

ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิกิริยาฟิชชัน (Fission reaction) คือ กระบวนการที่นิวเคลียสของธาตุหนักบางชนิด แตกตัวออกเป็นไอโซโทปของธาตุที่เบากว่า เป็นปฏิกิริยาลูกโซ่

Fission reaction ประโยชน์ของปฏิกิริยาฟิชชัน กระบวนการที่นิวเคลียสของธาตุหนักบางชนิดแตกตัวออกเป็นไอโซโทปของธาตุที่เบากว่า ประโยชน์ของปฏิกิริยาฟิชชัน ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์สามารถควบคุมปฏิกิริยาลูกโซ่ในฟิชชันได้ และนำมาใช้ประโยชน์ทางสันติ เช่น ใช้สร้างเตาปฏิกรณ์ปรมาณู เพื่อผลิตไอโซโทปกัมมันตรังสี เพื่อใช้ในทางการแพทย์ การเกษตร และอุตสาหกรรม ในขณะที่พลังงานที่ได้ก็สามารถนำไปใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าได้

ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิกิริยาฟิวชัน (Fusion reaction) คือ ปฏิกิริยาที่เกิดการรวมตัวของไอโซโทปที่มีมวลอะตอมต่ำ ทำให้เกิดไอโซโทปใหม่ที่มีมวลมากขึ้นกว่าเดิม และให้พลังงานจำนวนมหาศาล และโดยทั่วๆ ไปจะให้พลังงานมากกว่าปฏิกิริยาฟิสชัน

Fusion reaction ประโยชน์ของปฏิกิริยาฟิวชัน กระบวนการที่นิวเคลียสของธาตุเบาสองชนิดหลอมรวมกันเกิด เป็นนิวเคลียสใหม่ที่มีมวลสูงกว่าเดิมและให้พลังงานปริมาณมาก ประโยชน์ของปฏิกิริยาฟิวชัน พลังงานในปฏิกิริยาฟิวชันถ้าควบคุมให้ปล่อยออกมาช้า ๆ จะเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์อย่างมากมาย และมีข้อได้เปรียบกว่าปฏิกิริยาฟิสชัน เพราะสารตั้งต้นคือไอโซโทปของไฮโดรเจนนั้นหาได้ง่าย นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากฟิวชันยังเป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีอายุและอันตรายน้อยกว่า ซึ่งจัดเป็นข้อได้เปรียบในแง่ของสิ่งแวดล้อม (เกิดเป็นแหล่งพลังงานมหาศาลที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์)

ประโยชน์ของไอโซโทปกัมมันตรังสี 1. ด้านธรณีวิทยา  มีการใช้ C-14 คำนวณหาอายุของวัตถุโบราณ หรืออายุของซากดึกดำบรรพ์ 2. ด้านการแพทย์ ใช้รักษาโรคมะเร็ง ในการรักษาโรคมะเร็งบางชนิด ทำได้โดยการฉายรังสีแกมมาที่ได้จาก โคบอลต์-60 เข้าไปทำลายเซลล์มะเร็ง

ประโยชน์ของไอโซโทปกัมมันตรังสี (ต่อ) โซเดียม-24 ฉีดเข้าไปในเส้นเลือด เพื่อตรวจการไหลเวียนของโลหิต โดย โซเดียม-24 จะสลายให้รังสีบีตาซึ่งสามารถตรวจวัดได้ และสามารถบอกได้ว่ามีการตีบตันของเส้นเลือดหรือไม่ Au-198 ใช้ตรวจตับและไขกระดูก I-131 ใช้ศึกษาความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ 3. ด้านเกษตรกรรม ใช้ P-32 ศึกษาความต้องการปุ๋ยของพืช 4. ด้านการถนอมอาหาร ใช้ Co-60 ในการถนอมอาหารให้มีอายุยาวนานขึ้น เพราะรังสีแกมมาช่วยในการทำลายแบคทีเรีย