งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P) ปี 2562

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Health Promotion & Prevention
Advertisements

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
3 กรอบการบริหารงบ P&P ปี 2553 NPP &Central Procurement (15.17) NPP &Central Procurement (15.17) P&P Area based (รวม PP Community) (58.41) P&P Area based.
ระบบข้อมูล/ระบบ GIS รพ.สต.
การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 รายการงบ วงเงิน
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การตั้งค่าวัคซีน.
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง
DPAC Module1 Introduction to DPAC
หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
P&P expressed demand (Itemized 9 รายการ)
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
NHSO National Health Security Office, Thailand แนวทางการใช้ข้อมูล OP/PP Individual 55 กองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค.
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
1. แนวทางการดำเนินงาน OPPP individual ในปี 2559  ระยะเวลาการรับข้อมูล การดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559  มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และแฟ้มที่จะรับ  รูปแบบ.
แนวทางการตรวจ ราชการ นพ. ธีรพล โตพันธานนท์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE แนวทางการสนับสนุนการดำเนิน งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 1 ปีงบประมาณ 2555.
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
การบริหารงบกองทุน หลักประกันสุขภาพ ปี 2560
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
การให้บริการวัคซีนไวรัสโรต้า ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี งบประมาณ 2560
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
Service Plan สาขาแม่และเด็ก
สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การตรวจราชการติดตามและประเมินผล : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การบันทึกข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ งานอนามัยแม่และเด็ก
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
การบริหารจัดการ กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2562
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการกลุ่มวัย
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
รายงานความก้าวหน้า งบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด (PPA) ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอ อปสข. 7 กย.61.
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน งานวิชาการและนวัตกรรม กรมอนามัยปี ๒๕๖๑
บริการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ
นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
การบริหารและขับเคลื่อน
กลุ่มงานประกันสุขภาพ / สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
งานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ข้อมูลทั่วไป สถานะสุขภาพ ทรัพยากรสาธารณสุข การบริหารจัดการ.
รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท)
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
วิชาสถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญPPA1106
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย สตรีและเด็กปฐมวัย 0-5 ปี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P) ปี 2562 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 8 อุดรธานี

งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของแต่ละกลุ่มวัย ตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข ฉบับที่ 10 เพื่อป้องกันหรือลดปัญหาสาธารณสุข หรือภาวะโรคที่สำคัญของประเทศ เพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาการสร้างเสริมเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เพื่อเพิ่มคุณภาพบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

รายการบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว รวม ( บาทต่อผู้มีสิทธิ) ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสำหรับผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2562 และหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หมวด 2 รายการบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว ************ ข้อ 8 อัตราเหมาจ่ายรายหัวปีงบประมาณ 2562 จำนวน 3,426.56 บาทต่อผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ผู้มีสิทธิ) สำหรับ ผู้มีสิทธิจำนวน 48.5750 ล้านคน โดยจัดสรรเป็นประเภทบริการ ค่าใช้จ่าย หรือเงินต่างๆ ดังนี้ ประเภทบริการ จำนวนบาท/ผู้มีสิทธิ 1. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 1,179.34 2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป 1,194.94 3. บริการเฉพาะ 357.50 4. บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 432.43 5. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ 16.13 6. บริการการแพทย์แผนไทย 11.61 7. ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน 128.69 8. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้รับบริการ และผู้ให้บริการ 4.92 9. บริการจ่ายตามคุณภาพผลงานบริการ 2.00 รวม ( บาทต่อผู้มีสิทธิ) 3,426.56

PPB จ่ายแบบ Fee Schedule จำนวน 8 รายการ แนวทางการบริหารจัดการค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2562 งบ P&P (318.98 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.700 ล้านคน) ตามเป้าหมายประชากรที่ได้รับงบประมาณ โดยใช้ จำนวนประชากรไทย ณ 1 เมษายน 2561 เป็น ตัวแทนในการจัดสรร • ได้รับ 431.43 บาทต่อหัว • UC pop 48.575 ล้านคน • Thai pop 65.700 ล้านคน (ก) Central Procurement & NPP (29.64 บาท/คน) (ข) P&P Area based (ไม่เกิน 4 บาท/คน) (ค) P&P basic services (ไม่น้อยกว่า 231.34 บาท/คน) (ง) จ่ายตามเกณฑ์ คุณภาพผลงานบริการ (9 บาท/คน) (จ) P&P ในชุมชน (45 บาท/คน) Central Procurement (วัคซีน) NPP ได้แก่ สมุดบันทึกสุขภาพ และการบริการติดตามเด็กที่ผลการตรวจยืนยัน TSH ผิดปกติ บริหาร Global budget ระดับเขต ตามจำนวนประชากรไทย ให้เป็นค่าบริการ ที่ต้องการเร่งรัดการเข้าถึงบริการตามนโยบายหรือแก้ไขปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัดตามความจำเป็นทางสุขภาพ ให้คำนึงถึงการเข้าถึงบริการของประชาชนสิทธิหลักประกันสุขภาพต่างๆ ที่ยังเข้าไม่ถึงบริการ จำนวน 188.12 บาทต่อคน จ่ายแบบเหมาจ่ายให้หน่วยบริการ โดย 1.1 65% เหมาจ่ายต่อหัว ประชากร โดย Diff. by age group 1.2 35% เหมาจ่ายตาม workload เดือน เม.ย.60 - มี.ค.61 จำนวน 43.22 บาทต่อคนจ่ายแบบ Fee schedule บริหารแบบ Global budget ระดับเขต แนวทางบริหาร เป็นไปตามงบ รายการเบิกจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ จัดสรรให้กองทุนฯท้องถิ่นที่มีความพร้อมตามจำนวนประชากรไทย และตามประกาศการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพรับท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่จะปรับปรุงใหม่ หากมีเงินเหลือให้ สปสช.จัดสรรเป็นค่าบริการ PPB PPB จ่ายแบบ Fee Schedule จำนวน 8 รายการ ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสำหรับผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ ๒๕๖๒

การบริหารงบบริการ P&P ปี 2562 National priority Program & Central Procurement (29.64 บาท/คน) วัคซีน EPI ( BCG,HB,DTwP-HB/DTwP-Hib.OPV,IPV,MMR/MR,JE, DTP และ dT ) วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก ป.5 และเด็กหญิงไทยอายุ 11- 12 ปี วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล กลุ่มเป้าหมาย 7 กลุ่มเสี่ยง ค่าสมุดบันทึกสุขภาพ (แม่และเด็ก/นักเรียน/DSPM,DAIM)

ส่วนที่ (ข) P&P Area based ( ไม่เกิน 4 บาท/คน) เป็นค่าใช้จ่ายบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ต้องการเร่งรัดการเข้าถึงบริการตามนโยบายหรือแก้ไขปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัดตามความจำเป็นทางด้านสุขภาพภายใต้ประเภทและขอบเขตบริการฯ ฉบับที่ 10 ลงวันที่ 7 เมษายน 2559 จัดสรรเงินเป็น Global budget ระดับเขตตามจำนวนประชากรไทย ณ.วันที่ 1 เมษายน 2561 เขต 8 จำนวนประชากร 4,880,707คน วงเงิน 19,508,725.30 บาท แนวทางและหลักเกณฑ์การจ่ายของเขต 1. การสนับสนุนตามแผนงาน/โครงการที่ต้องอยู่ภายใต้ประเภทและขอบเขตบริการฯ ตามประกาศคณะกรรมการฯ ฉบับที่10 2. เป็นบริการที่ต้องการเร่งรัดการเข้าถึงตามนโยบายหรือแก้ไขปัญหาพื้นที่โดยคำนึงถึงการเข้าถึงบริการของประชาชนสิทธิ หลักประกันสุขภาพต่างๆที่ยังเข้าไม่ถึงบริการ ทั้งนี้ควรเป๋นแผนงาน/ โครงการระดับเขตและหรือจังหวัด 3. สปสช.เขต เสนอแผนงาน/โครงการ และจำนวนงบประมาณที่จะดำเนินงานตั้งแต่ต้นปีงบประมาณและหากเสนอตาม แผนงาน/โครงการแล้ว ยังมี Global budget ระดับเขตเหลือให้จ่ายเป็น ค่าใช้จ่ายบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐาน ให้กับหน่วยบริการประจำตามจำนวนผู้ลงทะเบียนสิทธิตั้งแต่ต้นปี

ส่วนที่ (ค)บริการ P&P สำหรับบริการพื้นฐาน ( P&P Basic Service ) จำนวนไม่น้อยกว่า 231.34 บาท/คน (ไม่น้อยกว่า 188.12 บาท/คน) หลักเกณฑ์การจ่าย ร้อยละ 65 จ่ายแบบเหมาจ่ายต่อคน โดยปรับอัตราตามโครงสร้างกลุ่มอายุระดับจังหวัด ร้อยละ 35 จ่ายตามผลงานบริการ ตามตัวชี้วัดที่กำหนด (ผลงานตั้งแต่เดือน เมษายน 2560 – มีนาคม 2561) 2.1 จำนวนหญิงหลังคลอดที่ได้รับบริการดูแลหลังคลอดตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไป (คน) 2.2 จำนวนผู้รับบริการคุมกำเนิด ( ครั้ง ) 2.3 จำนวน 0 – 5 ปี ที่ได้รับบริการตรวจพัฒนาการทั้งหมด ( คน ) 2.4 จำนวนเด็ก 6 – 12 ปี ที่ได้รับบริการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด ( คน ) 2.5 จำนวนการได้รับบริการวัคซีน EPI ทุกชนิดในเด็กแรกเกิด ถึงเด็ก ป.6 (เข็ม) 2.6 จำนวนผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไปที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูง ( คน ) 2.7 จำนวนผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไปที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้า(คน )

ส่วนที่ (ค)บริการ P&P สำหรับบริการพื้นฐาน ( P&P Basic Service ) จำนวน 29.64 บาท/คน 2. ค่าบริการ P&P จ่ายตามรายการบริการ ( Fee Schedule ) จำนวน 43.22 บาท/คน เป็นการจ่ายชดเชยสำหรับบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ที่ต้องการเร่งรัดการเข้าถึงบริการเฉพาะของประชาชนทุกสิทธิ จำนวน 8 รายการ ได้แก่ 1) บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 2) บริการฝากครรภ์ (ANC) 3) การป้องกันและควบคุมโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียใน หญิงตั้งครรภ์ 4) การป้องกันและควบคุมกลุ่มอาการดาวน์ในหญิง ตั้งครรภ์ 5) การป้องกันและควบคุมภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์ ในเด็กแรกเกิด (TSH) 6) บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ใส่ห่วงอนามัย/ฝังยา คุมกำเนิด) ในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี 7) บริการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย 8) บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ใส่ห่วงอนามัย/ฝังยา คุมกำเนิด) ในหญิงอายุ 20 ปีขึ้นไป กรณีหลังยุติการ ตั้งครรภ์ )

ส่วนที่ (ง) P&P กองทุนท้องถิ่น 45 บาท/คน เกณฑ์การ จ่าย เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกัน โรคในรูปแบบความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ( อปท ) ตามประกาศของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่ เกี่ยวข้อง โดยจ่ายให้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น หรือพื้นที่ ( กองทุนฯท้องถิ่น ) ที่มีความพร้อมในการเข้าร่วม ดำเนินงาน โดยเน้นการบูรณาการร่วมกับกลไกต่างๆในพื้นที่ ส่วนที่ (จ) บริการที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ( QOF) 9 บาท/คน หลักเกณฑ์การจ่าย เป็นค่าใช้จ่ายในการบริการสาธารณสุขที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ผลงานบริการ โดยจ่ายให้หน่วยบริการ /สถานบริการ

กรณี Fee schedule ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในส่วนค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจ่ายตามรายการบริการ กรณี Fee schedule ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

วัตถุประสงค์ เป็นการจ่ายชดเชยสำหรับบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ที่ ต้องการเร่งรัดการเข้าถึง บริการเฉพาะของประชาชนทุกสิทธิ ตามรายการบริการ (Fee schedule) จำนวน 8 รายการ ได้แก่ 1) บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 2) บริการฝากครรภ์ (ANC) 3) การป้องกันและควบคุมโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ 4) การป้องกันและควบคุมกลุ่มอาการดาวน์ในหญิงตั้งครรภ์ 5) การป้องกันและควบคุมภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์ในเด็กแรกเกิด (TSH) 6) บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ใส่ห่วงอนามัย/ฝังยาคุมกำเนิด) ในหญิง อายุน้อยกว่า 20 ปี 7) บริการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย 8) บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ใส่ห่วงอนามัย/ฝังยาคุมกำเนิด) ในหญิง อายุ 20 ปีขึ้นไป กรณีหลังยุติการตั้งครรภ์

อัตราจ่ายรายการ PPB จ่ายแบบ Fee Schedule ปี 2562 (บาท/ครั้ง) รายการบริการ (เดิมที่จ่ายอยู่แล้ว) อัตราจ่าย (บาท/ครั้ง) 1. ค่าบริการตรวจยืนยันโลหิตจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์และสามี   - ค่าตรวจ Hb typing 270 - ค่าตรวจ Alpha - thal 1 500 - ค่าตรวจ Beta - thal 1,200 - ค่า PND 2,500 - ค่ายุติการตั้งครรภ์ 3,000 2. ค่าบริการตรวจคัดกรอง Down syndrome ในหญิงตั้งครรภ์ - ค่าตรวจคัดกรองด้วยวิธี Quadruple test - ค่าบริการเจาะเลือดและค่าขนส่ง 200 - ค่าบริการตรวจโครโมโซมยืนยันทารกในครรภ์ด้วยวิธี Karyotyping 3000 3. ค่าบริการตรวจคัดกรองภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์ในเด็กแรกเกิด - ค่าตรวจคัดกรอง TSH 125 4. ค่าบริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ใส่ห่วง/ยาฝัง) ใน ญ< 20 ปี - ค่าบริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ใส่ห่วง/ยาฝัง) 5. บริการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย - ค่าชดเชยบริการยุติการตั้งครรภ์ทุกวิธี รายการบริการ (รายการใหม่ ปี2562) อัตราการจ่าย (บาท/ครั้ง) 6. บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ใส่ห่วง/ยาฝัง) ใน ญ >= 20 ปีขึ้นไป (กรณีแท้ง Unwanted pregnancy) 2,500 7. บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก   - ค่าบริการการตรวจ Pap smear 250 - การทำ Colposcopy รวมค่าทำ biopsy / ค่าอ่านผลพยาธิวิทยา 900 8. ANC - ANC ครั้งแรก 1,200 - ANC ครั้งที่ 2-5 400 หมายเหตุ อัตราจ่ายใช้อัตราเดียวกับที่ สปสช.เขต 13 กทม. ยกเว้น Colposcopy ใช้อัตราราคาอ้างอิงของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ

จัดสรรงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค PPA_62 (19,508,725.30) ลำดับ โครงการ วงเงิน ผู้รับผิดชอบ 1 โครงการส่งเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเมตาบอลิกซินโดรม 4,708,725.30บาท สสจ.หนองคาย 2 สร้างเสริมสุขภาพในเรือนจำ 1,500,000 เรือนจำ 3 สร้างเสริมสุขภาพแม่และเด็ก0-2ปี 5,000,000 สสจ.อุดรธานี 4 สร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มพระสงฆ์ 3,000,000 สสจ.นครพนม 5 ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า สสจ.สกลนคร 6 โครงการสร้างเสริมสุขภาพในวัยทำงาน 300,000 สสจ.หนองบัวลำภู