งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารจัดการ กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2562

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารจัดการ กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2562"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารจัดการ กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2562
วาระ ๔.๒ การบริหารจัดการ กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2562

2 ประเด็นนำเสนอ 1. การปรับแนวทางบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรค ปี แนวทางการบริหารจัดการงบ PPA ปีงบประมาณ แนวทางการบริหารจัดการงบ PPB ปีงบประมาณ 62

3 1. การปรับแนวทางบริหาร งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2562
วาระ ๔.๒ 1. การปรับแนวทางบริหาร งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2562

4 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
แนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2562 คนไทยทุกคน (ก) Central Procurement & NPP 9.2% จ่ายเป็นวัคซีน (ข) P&P Area based 1.3% Project base ตามปัญหาพื้นที่ (ค) P&P basic services 38.0% เหมาจ่ายต่อคนไทยปรับตามโครงสร้างอายุ 20.5% เหมาจ่ายตามผลงานบริการ 7 รายการ 14.1% Fee schedule จำนวน 7 บริการ (ง) จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ 2.8% ตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (จ) P&P ในชุมชน 14.1% สมทบกับ อปท. และให้ อปท.ดำเนินการจัดหาบริการ บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรครายบุคคลและครอบครัว ตามประกาศ ประเภทและขอบเขตบริการฯฉบับที่ 10 และฉบับที่ 11 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ตามมาตรฐานวิชาชีพ เกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ หน่วยบริการในระบบ UCS องค์ปกครองส่วนท้องถิ่น (กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่) องค์กรชุมชน องค์กรเอกชนและภาคเอกชนที่ไม่แสวงกำไร หน่วยงานของรัฐที่ได้รับมอบหมาย

5 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค : ประเด็นเปลี่ยนแปลง
กรอบแนวทางบริหารจัดการ ส่วนใหญ่เหมือนปี 2561 เพิ่มการเข้าถึงบริการสำหรับคนไทยทุกสิทธิในรายการบริการ สำคัญๆ โดยใช้รูปแบบการจ่ายแบบ Fee Schedule และ ให้ครอบคลุมหน่วยบริการในระบบที่ให้บริการสิทธิประกัน สุขภาพทุกสิทธิ ให้ความสำคัญกับการดำเนินงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนา คุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)/คณะกรรมการพัฒนา คุณภาพชีวิตระดับเขต (พชข.) ของกรุงเทพมหานคร ใน รายการ PPA, PPB และ PP ท้องถิ่น กำหนดช่วงข้อมูลที่จะใช้ในการเป็นตัวแทนในการจ่าย ให้ สอดคล้องกันมากที่สุด

6 การปรับแนวทางบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2562
ที่มา งบส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคถูกนำไปใช้ไม่ตรงวัตถุประสงค์ บริการส่งเสริม สุขภาพป้องกันโรคไม่ได้ตามเป้าหมายและไม่เห็นผลลัพธ์ด้านสุขภาพ ทำให้ บางกิจกรรมบริการอาจขาดความครอบคลุม เนื่องจากงบประมาณใช้แบบเหมา รวมกิจกรรม* หรือบางหน่วยบริการไม่จัดบริการหรือไม่มีการกำกับคุณภาพ บริการอย่างทั่วถึง สปสช. ตั้งงบ PP ให้กับประชาชนไทยทุกคน ในขณะที่ไม่มีมาตรการและกล ยุทธ์ในการส่งเสริมสนับสนุนให้กลุ่ม ขรก. และ ปกส. เข้าถึงสิทธิได้อย่างมี ประสิทธิผล (งบส่วนนี้ ๕,๐๐๐ ล้านบาท/ปี) คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 7/2560 วันที่ 3 กรกฎาคม มีมติ รับทราบข้อเสนอรายการที่จะพัฒนาและปรับปรุงในปี 2562 ใน ประเด็นการปรับรูปแบบการจัดหาบริการและแนวทางการจ่ายงบ PP เพื่อเพิ่ม การเข้าถึงบริการผู้มีสิทธิอื่นๆ มากขึ้น คณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน ครั้งที่ 11/2560 วันที่ ธันวาคม 60 ให้ข้อสังเกตว่า หากเปลื่ยน กลไกการจ่ายบริการ PP ให้ชัดเจนแบบ Itemize / Fee Schedule น่าจะ แก้ปัญหาการเข้าถึงบริการได้ และมีมติให้มีการปรับระบบการจ่ายค่าบริการที่ สามารถประกันว่าบริการเกิดขึ้นจริง โดยนำร่องในบางรายการ

7 (318.98 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.700 ล้านคน)
(ร่าง) แนวทางการบริหารจัดการค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2562 ตามเป้าหมายประชากรที่ได้รับงบประมาณ โดยใช้ จำนวนประชากรไทย ณ 1 เมษายน 2561 เป็น ตัวแทนในการจัดสรร งบ P&P ( บาท x ปชก. ทุกสิทธิ ล้านคน) • ได้รับ บาทต่อหัว • UC pop ล้านคน • Thai pop ล้านคน (ก) Central Procurement & NPP (29.39 บาท/คน) (ข) P&P Area based (4 บาท/คน) (ค) P&P basic services (ไม่น้อยกว่า บาท/คน) (ง) จ่ายตามเกณฑ์ คุณภาพผลงานบริการ (9 บาท/คน) (จ) P&P ในชุมชน (45 บาท/คน) Central Procurement (วัคซีน) NPP ได้แก่ สมุดบันทึกสุขภาพ และการบริการติดตามเด็กที่ผลการตรวจยืนยัน TSH ผิดปกติ (โยกรายการ CR-NPP รายการเดิม ไปตั้งรวม รวมใน Fee Schedule ใน PPB ) บริหาร Global budget ระดับเขต ตามจำนวนประชากรไทย ให้เป็นค่าบริการ ที่ต้องการเร่งรัดการเข้าถึงบริการตามนโยบายหรือแก้ไขปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัดตามความจำเป็นทางสุขภาพ ให้คำนึงถึงการเข้าถึงบริการของประชาชนสิทธิหลักประกันสุขภาพต่างๆ ที่ยังเข้าไม่ถึงบริการ จำนวน บาทต่อคน จ่ายแบบเหมาจ่ายให้หน่วยบริการ โดย % เหมาจ่ายต่อหัว ประชากร โดย Diff. by age group % เหมาจ่ายตาม workload เดือน เม.ย.60 - มี.ค.61 จำนวนไม่เกิน บาทต่อคนจ่ายตามรายการบริการ (Fee schedule) บริหารแบบ Global budget ระดับเขต แนวทางบริหาร เป็นไปตามงบ รายการเบิกจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ จัดสรรให้กองทุนฯท้องถิ่นที่มีความพร้อมตามจำนวนประชากรไทย และตามประกาศการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพรับท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่จะปรับปรุงใหม่ หากมีเงินเหลือให้ สปสช.จัดสรรเป็นค่าบริการ PPB

8 2. แนวทางการบริหารจัดการงบ PPA ปีงบประมาณ 62

9 ประเด็นปัญหาจากหน่วยตรวจสอบ
กิจกรรมในโครงการไม่สอดคล้องกับ กิจกรรมบริการ ใน ฉ 10 เป็นโครงการใช้เงินในการจัดประชุม ค่าอาหาร ค่าเบี้ยเลี้ยง ซื้อวัสดุ จ้างทำสติ๊กเกอร์ โครงการ ไม่ระบุกลุ่มเป้าหมายและจำนวนกลุ่มเป้าหมาย ถึงแม้การจัดบริการตรงตามประกาศ แต่เขียนข้อความ Wording กิจกรรม ไม่ตรง ฉ10 และมีการตีความกิจกรรม คนละเกณฑ์ หรือช่วงอายุ รายละเอียดของนิติกรรมสัญญา (อักษร ตัวเลข วันที่ การอนุมัติย้อนหลัง มีการแก้ไขเอกสารนิติกรรม หลังจากส่งเบิก )

10 แนวทางการบริหารงบ ปี 62 ควรเป็นโครงการ ระดับเขต/จังหวัด ไม่ควรเป็นโครงการย่อย ควรเป็นโครงการ/แผนงาน สำหรับจ่ายค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค ตามกิจกรรมในประกาศ ฉ.10/11 (ใช้ Concept และWording กิจกรรมบริการที่สอดคล้องหรือตรงกันกับ ประกาศ ฉ.10/11 ) มีให้การระบุข้อความ “เป็นบริการตามสิทธิประโยชน์ กลุ่มวัยใด กิจกรรมใด“ ให้ชัดเจน ในหนังสือขออนุมัติโครงการ /เอกสารเสนอ อปสข./เอกสารขออนุมัติเบิกจ่าย รายละเอียดงบประมาณ จ่ายเป็นค่าบริการ Unit Price และจำนวนกลุ่มเป้าหมาย แล้วคำนวณเป็นค่าบริการ Total Cost (ไม่ใช้ Activity base Cost เช่น ค่าจัดประชุม ค่าอาหาร ค่าเบี้ยเลี้ยง วัสดุอุปกรณ์ พัฒนาบุคลากร) การส่งมอบผลงาน >>> จำนวนบริการที่ประชาชนได้รับ หน่วยที่จะสามารถรับเงิน PPA >>> หน่วยบริการ , หน่วยงาน/องค์กร ภาครัฐ , หน่วยงาน/องค์กร ภาคประชาชน

11 แนวทางการบริหารเงิน PPA
เสนอโครงการ สปสช. หน่วยบริการ/หน่วยงานภาครัฐ/ภาคประชาชน รายละเอียดการใช้เงิน เพื่อคำนวณ Price (กระดาษทด) ใช้ประกอบ การพิจารณาโครงการ และใช้ทำโครงการเบิกในหน่วยบริการ จัดทำโครงการขอรับเงินค่าบริการ PP เป็นบริการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคที่สอดคล้องกับปัญหาที่ต้องการเร่งรัดการเข้าถึงบริการตามนโยบายหรือแก้ไขปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด ที่ระบุในรายงานการประชุมของ อปสข. เป็นการจัดบริการแบบมีส่วนร่วม ให้คำนึงถึงการเข้าถึงบริการของประชาชนสิทธิหลักประกันสุขภาพต่างๆ ที่ยังเข้าไม่ถึงบริการ การบูรณาการกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) โอนเงินค่าบริการตามโครงการ จัดบริการ PP ให้แก่ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดในโครงการ จัดทำแผนงาน/โครงการหรือการเบิกจ่ายเงินตามงบประมาณที่ได้รับ โดยใช้ระเบียบของหน่วยงานผู้ดำเนินการ หรือตามคำสั่ง คสช. - กลุ่มเป้าหมาย/กิจกรรมดำเนินการ ต้องเป็นบริการที่ตรงกับประกาศคณะกรรมการฯ เรื่องประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข(ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2559,ฉบับ 11 พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ส่งมอบผลงานบริการ ตามเป้าหมายในโครงการ

12 กระบวนการ บริหารจัดการงบ PPA
สปสช.เขต ชี้แจงหลักเกณฑ์แนวทางการเสนอโครงการ หน่วยบริการ/หน่วยงาน เสนอโครงการ ส่งคืนหน่วยหน่วยบริการ ให้ปรับแก้โครงการ ให้ตรงตามแนวทางในประกาศ การจัดบริการPPตามประกาศ และรายละเอียดการใช้เงิน ประกอบการพิจารณาโครงการ สปสช.เขต พิจารณาโครงการตามหลักเกณฑ์ กรณีสงสัย อาจสอบถาม สบก.ก่อน สปสช.เขต เสนอ อปสข. อนุมติ จัดทำนิติกรรมสัญญา/เสนอคู่สัญญาลงนาม 2.กรณีต้องแก้ไข สปสช.เขตตรวจสอบเอกสารความถูกต้อง/ครบถ้วน โครงการ /การส่งผลงานตามงวด และส่งเบิก ส่งมอบผลงาน 1.กรณีสงสัย สบป.ให้ความเห็น สบก. ตรวจสอบเอกสารโครงการ/การส่งผลงาน จัดบริการ PP ให้แก่ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดในโครงการ สบก. โอนเงินให้ผู้เสนอโครงการ

13 ข้อเสนอแผนปฏิบัติการ PPA ปี 62
ก.ย.62 ส่งมอบงานงวดสุดท้าย ส.ค.62 เสนอ.อปสข.อนุมัติปรับเกลี่ยเงินคงเหลือ ม.ค.62 จัดทำนิติกรรมสัญญา/โอนเงิน พ.ย.-ธ.ค.61 บริหารสัญญา/ เบิกจ่ายเงินงบประมาณ ตามงวด เสนอขออนุมัติโครงการต่อ อปสข. ต.ค.61 สปสช.เขต พิจารณาโครงการ/แผนงานบริการ ก.ย.61 หน่วยบริการ /องค์กร เสนอโครงการ/แผนงานงานบริการ ส.ค.61 สปสช.เขต วิเคราะห์ปัญหา/HNA บริการ PP ในพื้นที่ ร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง (อาจจะเสนอ(ร่าง)กรอบ/HN ต่อ อปสข. ทราบ/เห็นชอบ) ก.ค.61 ส่วนกลาง แจ้งประมาณการ Global budget ตามจำนวน ประชากร วันที่ 1 เม.ย.61 มิ.ย.61

14 (ร่าง) วงเงิน PPA ตามจำนวน ปชก. ณ 1 เม.ย. 61
เขต จำนวนประชากรไทย 1 เม.ย. 61 วงเงินP&P ที่เป็นปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด 1 5,313,382.00 21,238,175.09 2 3,099,446.00 12,388,828.22 3 2,637,176.00 10,541,083.94 4 5,613,953.00 22,439,590.60 5 5,269,833.00 21,064,104.93 6 7,234,289.00 28,916,252.67 7 4,426,533.00 17,693,341.63 8 4,880,707.00 19,508,725.30 9 5,965,240.00 23,843,723.56 10 3,959,183.00 15,825,292.02 11 4,464,384.00 17,844,636.26 12 4,885,880.00 19,529,402.35 13 7,930,589.00 31,699,440.73 14 66,899.00 267,402.70 รวม 65,747,494.00 262,800,000.00

15 การกำกับติดตาม สปสช.เขต
ไตรมาสที่ 2 รายงาน สรุป HNA ของเขต สรุปจำนวนโครงการ ที่ อปสข.อนุมัติ วิเคราะห์โครงการ ตามประเภท ประเด็น และการตอบสนองต่อ HNA ของเขต ไตรมาส 2,3,4 รายงานความก้าวหน้าการเบิกจ่ายงบประมาณ ไตรมาส 4 หรือ ไตรมาส 1 ปีถัดไป สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ การเข้าถึงบริการ PP ของประชาชน การบรรลุเป้าหมายตาม Health Need ของพื้นที่

16 3. แนวทางการบริหารจัดการงบ PPB ปีงบประมาณ 2562

17 รายการ PPB จ่ายแบบ Fee Schedule ปี 2562
ประเภทบริการ ขอบเขตบริการ 1. บริการตรวจยืนยันโลหิตจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์และสามี ตรวจ Hb typing, ตรวจ Alpha - thal 1, ตรวจ Beta – thal, PND ด้วยวิธี Chorionic villus sampling: CVS หรือ Amniocentesis หรือ Cordocentesis, ยุติการตั้งครรภ์ 2. บริการตรวจคัดกรอง Down syndrome ในหญิงตั้งครรภ์ อายุ 35 ปีขึ้นไป ตรวจคัดกรองด้วยวิธี Quadruple test, บริการเจาะเลือดและค่าขนส่ง, ค่า PND, บริการตรวจโครโมโซมยืนยันทารกในครรภ์ด้วยวิธี Karyotyping, ยุติการตั้งครรภ์ 3. บริการตรวจคัดกรองภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์ในเด็กแรกเกิด ตรวจคัดกรอง TSH 4. บริการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย บริการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย (ค่ายา Medabon, ยุติการตั้งครรภ์ทุกวิธี) 5. บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร(ใส่ห่วง/ยาฝัง) หญิง < 20 ปี บริการใส่ห่วง/ยาฝัง 6. บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร(ใส่ห่วง/ยาฝัง) หญิง >= 20 ปีขึ้นไป กรณีแท้ง Unwanted pregnancy (ขยายกลุ่มปี 62) 7. บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (เพิ่มรายการปี 62) เป็นค่าบริการการตรวจ Pap smear, การทำ Colposcopy, ค่าทำ biopsyและค่าอ่านผลพยาธิวิทยา 8. บริการ ANC (เพิ่มรายการปี 62) บริการ ANC

18 อัตราจ่ายรายการ PPB จ่ายแบบ Fee Schedule ปี 2562 (บาท/ครั้ง)
รายการบริการ (เดิมที่จ่ายอยู่แล้ว) อัตราจ่าย (บาท/ครั้ง) 1. ค่าบริการตรวจยืนยันโลหิตจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์และสามี - ค่าตรวจ Hb typing 270 - ค่าตรวจ Alpha - thal 1 500 - ค่าตรวจ Beta - thal 1,200 - ค่า PND 2,500 - ค่ายุติการตั้งครรภ์ 3,000 2. ค่าบริการตรวจคัดกรอง Down syndrome ในหญิงตั้งครรภ์ - ค่าตรวจคัดกรองด้วยวิธี Quadruple test - ค่าบริการเจาะเลือดและค่าขนส่ง 200 - ค่าบริการตรวจโครโมโซมยืนยันทารกในครรภ์ด้วยวิธี Karyotyping 3000 3. ค่าบริการตรวจคัดกรองภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์ในเด็กแรกเกิด - ค่าตรวจคัดกรอง TSH 125 4. ค่าบริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ใส่ห่วง/ยาฝัง) ใน ญ< 20 ปี - ค่าบริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ใส่ห่วง/ยาฝัง) 5. บริการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย - ค่าชดเชยบริการยุติการตั้งครรภ์ทุกวิธี รายการบริการ (รายการใหม่ ปี2562) อัตราการจ่าย (บาท/ครั้ง) 6. บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ใส่ห่วง/ยาฝัง) ใน ญ >= 20 ปีขึ้นไป (กรณีแท้ง Unwanted pregnancy) 2,500 7. บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก - ค่าบริการการตรวจ Pap smear 250 - การทำ Colposcopy รวมค่าทำ biopsy / ค่าอ่านผลพยาธิวิทยา 900 8. ANC - ANC ครั้งแรก 1,200 - ANC ครั้งที่ 2-5 400 หมายเหตุ อัตราจ่ายใช้อัตราเดียวกับที่ สปสช.เขต 13 กทม. ยกเว้น Colposcopy ใช้อัตราราคาอ้างอิงของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ

19 ประเด็นที่เปลื่ยนแปลงของ PPB
ปี 2561 ข้อมูลผลงานบริการ ใช้ 10 รายการ จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการดูแลก่อนคลอดครั้งที่ 1 (คน) จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการดูแลก่อนคลอดครั้งต่อไป (ครั้ง) จำนวนหญิงหลังคลอดที่ได้รับบริการดูแลหลังคลอดตั้งแต่ 2 ครั้ง ขึ้นไป (คน) จำนวนผู้รับบริการคุมกำเนิด (ครั้ง) จำนวนเด็ก 0-5 ปี ที่ได้รับบริการตรวจพัฒนาการทั้งหมด (คน) จำนวนเด็ก 6-12 ปี ที่ได้รับบริการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด (คน) จำนวนการได้รับบริการวัคซีน EPI ทุกชนิดในเด็กแรกเกิด ถึงเด็ก ป. 6 (เข็ม) จำนวนหญิง ปี ที่ได้รับบริการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (คน) จำนวนผู้มีอายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไปที่ได้รับบริการตรวจคัดกรอง เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (คน) จำนวนผู้มีอายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไปที่ได้รับบริการตรวจคัดกรอง โรคซึมเศร้า (คน) ปี 2562 ข้อมูลผลงานบริการ ใช้ 7 รายการ 1. จำนวนหญิงหลังคลอดที่ได้รับบริการดูแลหลังคลอดตั้งแต่ 2 ครั้ง ขึ้นไป (คน) 2. จำนวนผู้รับบริการคุมกำเนิด(ครั้ง) 3. จำนวนเด็ก 0-5 ปี ที่ได้รับบริการตรวจพัฒนาการทั้งหมด (คน) 4. จำนวนเด็ก 6-12 ปีที่ได้รับบริการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด (คน) 5. จำนวนการได้รับบริการวัคซีน EPI ทุกชนิดในเด็กแรกเกิด ถึงเด็ก ป. 6 (เข็ม) 6. จำนวนผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไปที่ได้รับบริการตรวจคัดกรอง เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (คน) 7. จำนวนผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไปที่ได้รับบริการตรวจคัดกรอง โรคซึมเศร้า (คน)

20 ขอบคุณคะ


ดาวน์โหลด ppt การบริหารจัดการ กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2562

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google