Class Diagram.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SCC : Suthida Chaichomchuen
Advertisements

SCC : Suthida Chaichomchuen
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
Entity-Relationship Model E-R Model
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน

Database Management System
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
กลุ่ม การจัดการความรู้ ช่างอากาศ (KM) หน่วยงาน ฝ่ายการช่าง ฝูงบิน 461 กองบิน 46 คำขวัญ “ มุ่งหน้าแก้ไขข้อขัดข้อง เพื่อตอบสนองภารกิจ ”
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
สรุปผลการอบรม หลักสูตรการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและ ประเมินผล จารุนันท์ สมบูรณ์สิทธิ์
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง
การทำ Normalization 14/11/61.
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Seminar 1-3.
Class Diagram.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
การสร้างสรรค์และผลิตเครื่องมือการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร 1
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่างมี 2 วิธี
อ. อิสรี ไพเราะ (อ.ต๊ะ) MB
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Analysis Model & Object Oriented Analysis
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
การวิเคราะห์ความต้องการ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
Sequence Diagram.
วิชากฎหมายล้มละลาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Class Diagram

Classification Abstraction เป็นกระบวนการหาว่ามี Object ใดบ้างใน Problem Domain Problem Domain รถ ความหมาย สัญลักษณ์ Private - Protected # Public + รถ -ประเภทรถ -สีของรถ +วิ่ง +จอด +เลี้ยว รถเก๋งสีแดงของสมศักดิ์ รถมอเตอร์ไซด์สีชมพูของสมศรี รถตู้สีขาวของสมควร

Aggregation Abstraction ดูว่า Class ใดเป็นส่วนประกอบ (is part of) ของ Class อื่นหรือไม่ และการประกอบกันของ Class ต้องทำให้เกิด Class ใหม่ ซึ่งมี Concept ใหม่เสมอ ห้องเรียน กระดานดำ เก้าอี้ โต๊ะ นักเรียน ครูผู้สอน

Generalization Abstraction คือกระบวนการนำ Class ที่มีลักษณะเหมือนหรือคล้ายคลึงกัน หรือมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกัน (General) มาจัด หมวดหมู่ไว้เป็น Class เดียวกัน กระบวนการย้อนกลับของ Generalization Abstraction เรียกว่า Specialization ซึ่ง Specialization คือการตอบคำถามว่า Class หนึ่งๆ นั้นสามารถจำแนกเป็น Class อะไรได้บ้าง คน ผู้ชาย ผู้หญิง

Association Abstraction คือกระบวนการในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง Class ต่างๆ ใน Problem Domain ที่เราสนใจ 1..1 0..n 0..n 1..1 ผู้ชาย ทำ การแต่งงาน ทำ ผู้หญิง 0..1 0..1 ผู้ชาย เป็นสามี ภรรยา ผู้หญิง

Class Diagram คืออะไร แผนภาพที่ใช้แสดง Class และความสัมพันธ์ในแง่ต่างๆ (Relationship) ระหว่าง Class ความสัมพันธ์ใน Class Diagram จะป็นความสัมพันธ์แบบ Static Relationship Static Relationship หมายถึงความสัมพันธ์ที่มีอยู่แล้วเป็นปกติ ระหว่าง Class ต่างๆ Dynamic Relationship หมายถึงความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นเนื่องจาก กิจกรรมต่างๆระหว่าง Class

ตัวอย่าง Static Relationship Dynamic Relationship เจ้าของบัญชีเป็นเจ้าของบัญชี เงินฝาก Dynamic Relationship เจ้าของบัญชีฝากเงินเข้าบัญชี เงินฝาก เจ้าของบัญชีถอนเงินจาก บัญชีเงินฝาก เจ้าของบัญชีปรับปรุงยอด บัญชีเงินฝาก

หลักการในการสร้าง Class Diagram (Class Diagram Modeling Techniques) กำหนดกรอบของ Problem Domain ให้ชัดเจน พิจารณาหา Object ที่สามารถจับต้องได้ เห็นได้ สัมผัสได้ พิจารณาหา Object ที่ไม่สามารถจับต้องได้ ใช้ Classification Abstraction เพื่อแยกแยะและสร้าง Class จาก Object ที่มีอยู่ หา Aggregation Abstraction โดยพิจารณา Class ที่ได้จาก Classification Abstraction ว่ามี Class ใดหรือไม่ที่มี ความสัมพันธ์แบบเป็นส่วนหนึ่งหรือประกอบด้วย (Is Part of) กับ Class อื่นๆ

หลักการในการสร้าง Class Diagram (Class Diagram Modeling Techniques) (ต่อ) ใช้ Generalization มาพิจารณา Class ต่างๆ ใน Class Diagram ใช้ Association มาพิจารณา Class ต่างๆ ใน Class Diagram พิจารณา Class Diagram ที่สร้างมาทั้งหมดว่า ทุก Class และทุก กลุ่มของ Class มีความสัมพันธ์ (Relationship) แบบใดแบบ หนึ่งกับ Class หรือกลุ่มของ Class อื่นหรือไม่

1. กำหนดกรอบของ Problem Domain ให้ชัดเจน เขียน Use Case Diagram ของ Problem Domain ที่กำหนดไว้ พิจารณาว่าแต่ละ Use Case มี Object อะไรบ้าง

2. พิจารณาหา Object ที่สามารถจับต้องได้ เห็นได้ สัมผัสได้ (ถ้ามี) หาตัวแทนของ Tangible Object ในกรณีที่ Tangible Object หลายๆ ตัวใน Problem Domain เดียวกันให้ครบทุกตัว

3. พิจารณาหา Object ที่ไม่สามารถจับต้องได้ (ถ้ามี) หาตัวแทนของ Intangible Object ในกรณีที่มี Intangible Object หลายๆ ตัวใน Problem Domain เดียวกันที่มีอยู่หรือต่าจะมีอยู่ใน Problem ให้ครบทุกตัว

4.ใช้ Classification Abstraction ใช้ Classification Abstraction เพื่อแยกแยะและสร้าง Class จาก Objects ที่มีอยู่ หา Attribute และ Function ที่มีอยู่ใน Class นั้นๆ เท่าที่จะหามาได้ วาด Class ที่ได้ทั้งหมดลงใน Class Diagram

5. หา Aggregation Abstraction โดยพิจารณา Class ที่ได้จาก Classification Abstraction ว่ามี Class ใด หรือไม่ที่มีความสัมพันธ์แบบเป็นส่วนหนึ่งหรือประกอบด้วย (Is Part of) กับ Class อื่นๆ ถ้ามี หาว่า Aggregation ที่เกิดขึ้นนั้นเป็นแบบ One to One หรือ Many to One และใส่ Cardinality ให้ถูกต้อง

6. ใช้ Generalization ใช้ Generalization มาพิจารณา Class ต่างๆ ใน Class Diagram หาก เกิดมีความสัมพันธ์แบบ Generalization หรือ Specialization เกิดขึ้น ให้เพิ่มเติมลงใน Class Diagram ในขั้นตอนนี้อาจมีการสร้าง Class ใหม่เพื่อเป็น Generalization Class ก็ได้

7. ใช้ Association ใช้ Association มาพิจารณา Class ต่างๆ ใน Class Diagram เพิ่มเติมสัญลักษณ์ของ Association ลงใน Class Diagram พิจารณาประเภทของความสัมพันธ์และ Cardinality ให้ถูกต้อง

8. พิจารณา Class Diagram ที่สร้างมาทั้งหมด พิจารณา Class Diagram ที่สร้างมาทั้งหมดว่า ทุก Class และทุก กลุ่มของ Class มีความสัมพันธ์ (Relationship) แบบใดแบบหนึ่ง กับ Class หรือกลุ่มของ Class อื่นหรือไม่ หากมี Class ใด Class หนึ่ง ยังไม่มี Relationship กับ Class อื่นๆเลย อาจเกิดจาก Class นั้นเป็น Class ที่เกินความจำเป็น หรือ ยังขาด Class อื่นๆ ที่จำเป็นต้องมีและมีมี Relationship กับ Class ดังกล่าว สิ่งที่ต้องทำหากเกิดกรณีนี้ขึ้นคือ เริ่มต้นใหม่ตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1 Note ขั้นตอนที่ 1 ถึง 7 สามารถทำสลับขั้นตอนกันได้

ตัวอย่าง [สร้าง Class Diagram จาก Problem Domain ต่อไปนี้] ในคณะวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งประกอบด้วย บุคลากรหลายประเภท ได้แก่ อาจารย์ นักศึกษา และเจ้าหน้าที่ โดยที่ อาจารย์แต่ละท่านมีหน้าที่ในการสอนวิชาใดวิชาหนึ่ง หรือมากกว่า 1 วิชาก็ได้ และนักศึกษามีหน้าที่ในการศึกษาวิชา ใดวิชาหนึ่ง หรือมากว่า 1 วิชาก็ได้ ในเวลาเดียวกันเจ้าหน้าที่ ของภาควิชา คือเจ้าหน้าที่ประจำห้องทดลองต่างๆ โดยกำหนด ว่าใน 1 ห้องทดลองจะต้องมีเจ้าหน้าที่ 1 คนเสมอ

จาก Problem Domain นำมาเขียน Use Case Diagram การเรียนการสอน <<uses>> การใช้ห้องทดลอง นักเรียน การเรียนการสอน ในคณะวิทยาศาสตร์ การดูแลห้องทดลอง อาจารย์ เจ้าหน้าที่

หา Object หรือ Class ที่มีในแต่ละ Use Case การเรียนการสอน นักเรียน อาจารย์ ห้องเรียน วิชาเรียน ชั่วโมงเรียน การใช้ห้องทดลอง ห้องทดลอง การดูแลห้องทดลอง เจ้าหน้าที่ จากทุกๆ User Case จะมี Class ทั้งหมดในระบบคือ อาจารย์ นักเรียน เจ้าหน้าที่ ห้องเรียน วิชาเรียน ชั่วโมงเรียน และห้องทดลอง

สร้าง Class Diagram ห้องเรียน ห้องทดลอง 1..1 0..1 1..1 ดูแล 1..1 ใช้ เจ้าหน้าที่ นักเรียน ใช้ อาจารย์ 1..n 1..n เรียน สอน 0..n 0..n 0..n 1..n 1..1 ชั่วโมงเรียน วิชาเรียน 0..n

สร้าง Class Diagram พิจารณา Generalization ห้องเรียน ห้องทดลอง 1..1 1..1 0..1 บุคลากร ดูแล 1..1 ใช้ เจ้าหน้าที่ นักเรียน ใช้ อาจารย์ 1..n 1..n เรียน สอน 0..n 0..n 0..n 1..n 1..1 ชั่วโมงเรียน วิชาเรียน 0..n

สร้าง Class Diagram พิจารณา Generalization ห้อง ห้องเรียน ห้องทดลอง บุคลากร 1..1 1..1 0..1 ดูแล 1..1 ใช้ นักเรียน ใช้ เจ้าหน้าที่ อาจารย์ 1..n 1..n เรียน สอน 0..n 0..n 0..n 1..n 1..1 ชั่วโมงเรียน วิชาเรียน 0..n

สร้าง Class Diagram พิจารณา Aggregation Abstraction คณะวิทยาศาสตร์ ห้อง ห้องเรียน ห้องทดลอง บุคลากร 1..1 1..1 0..1 ดูแล 1..1 ใช้ เจ้าหน้าที่ นักเรียน ใช้ อาจารย์ 1..n 1..n เรียน สอน 0..n 0..n 0..n 1..n 1..1 ชั่วโมงเรียน วิชาเรียน 0..n

ส ส