Microsoft Excel.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมทดสอบที่1 ทดสอบการแสดงผลข้อความ
Advertisements

Lecture 5: ทางเลือกแบบหลายทาง
scanf(“%d”,&a); a = (2+3)*4/5; b= a*5/100; if(a<0) ……..
การประยุกต์ใช้ Microsoft Excel 2003 กับ “ระบบข้อมูลวัสดุคงเหลือ”
การประยุกต์ใช้โปรแกรม MS-Excel
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
โดย ศศิธร อารยะพูนพงศ์ สำนักคอมพิวเตอร์
โครงสร้างคำสั่งแบบเลือก (Selection)
การค้นหาและการอ้างอิง ใน Excel 2007
Javascripts.
Flowchart รูปแบบ If ซ้อน If ก็คือ การเอา If ไปไว้ใน If ทางฝั่ง True  โดยโครงสร้าง If ซ้อน If นั้นเอาไว้ใช้กับ กรณีตรวจสอบเงื่อนไขที่มากกว่า 2 กรณี เพราะเนื่องจาก.
การใช้ฟังก์ชั่นทาง EXCEL
คำสั่งเงื่อนไข ง การเขียนไดนามิก เว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
คำสั่งควบคุมการทำงานของ ActionScripts
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และค่าคงที่
การประยุกต์ Excel เพื่อการทำงาน
คำสั่งวนซ้ำ นายมาโนชญ์ แสงศิริ ครูผู้ช่วย โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม
ลำดับการคำนวน ลำดับตัวจัดการ 1% เปอร์เซนต์ 2^ ยกกำลัง 3 * และ / การคูณ และการหาร 4 + และ - การบวกและการลบ 5= >= การเปรียบเทียบ.
การเปรียบเทียบเงื่อนไข
Click when ready Wang991.wordpress.com © All rights reserved Stand SW 100 Relation and function.
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
โปรแกรม Microsoft Excel มี ความสามารถเด่นในด้านการคำนวณ ซึ่งมี ลักษณะการคำนวณ 2 รูปแบบใหญ่ๆ ได้แก่ การคำนวณด้วยสูตร (Formula) การคำนวณด้วยฟังก์ชันสำเร็จรูป.
การใช้งาน Microsoft Excel
Microsof t Office Excel คุณสมบัติของ โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007  สร้างและแสดงรายงานของข้อมูล ตัวอักษร และ ตัวเลข  อํานวยความสะดวกในด้านการคํานวณต่าง.
เพื่อให้มีประสบการณ์ในการทำงาน และสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ได้ 2. เพื่อได้เรียนรู้งานก่อนออกทำงานจริง ในอนาคต 3. เพื่อเรียนรู้การปฏิบัติตัวต่อเพื่อน.
สูตรคำนวณตัวแปรตำเนินการ = A1 + A2 * A3 เซล A1, A2 และ A3 เครื่องหมาย + และ * = B3 * 5 /100 เซล B3, เลข 5 และ 100 เครื่องหมาย * และ / = D5:D10 เซล.
๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๙ โดย ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี ๕๗ หมู่ ถ. ชลประทาน ต. โขมง อ. ท่าใหม่ จ.
Lab 05 : Microsoft Excel 2013 (Part2) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
Excel for Business Computer สุริเยนทร์ แดงทองดี เอกสารประกอบการอบรม Excel.
การเปรียบเทียบเงื่อนไข
Microsoft Excel เบื้องต้น
การจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
เกม คณิตคิดเร็ว.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part2) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
คำสั่งวนซ้ำ (Looping)
การควบคุมการทำงานด้วยภาษา C
ภาษา JavaScript Webpage Design and Programming Workshop ( )
Microsoft Office Excel
Advance Excel.
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
โครงสร้างการทำงานแบบทางเลือก
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 13 การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code)
Microsoft Office Excel 2010
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
บทที่ 6 การใช้งานโปรแกรมตารางคำนวณพื้นฐาน
EXCEL (intermediate) By Nuttapong S..
วิธีการคำนวณค่าระดับเสียงเฉลี่ย
การเลี้ยงไก่ไข่.
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมครู
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
ปฏิบัติการที่ 06 การใช้ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ และการสร้างมาโครใน Excel
ปฏิบัติการที่ 10 การหาค่าเหมาะที่สุดโดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
Algorithms Analysis Sanchai Yeewiyom
ลองนึกสิ คาบที่แล้ว เรียนอะไร.
การเขียนโปรแกรมภาษา Java (ต่อ)
Basic Excel for data management
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Microsoft Excel

Function IF Function IF เป็นคำสั่งในเพื่อใช้ในการสร้างเงื่อนไข เพื่อทำการตรวจสอบค่าในเซลล์ที่เราต้องการว่าเป็นจริง หรือไม่ รูปแบบ logical_test หมายถึง เงื่อนไขเพื่อทำการตรวจสอบค่า value_if_true หมายถึง ค่าที่ใช้สำหรับแสดงผล เมื่อเงื่อนไขเป็นจริง value_if_false หมายถึง ค่าที่ใช้สำหรับแสดงผล เมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ

ตัวอย่างการใช้งาน Function if

กรณีมีหลายเงื่อนไข

Function Function ในการหาผลรวมของข้อมูลปกตินิยมใช้ ฟังชั่น Sum กรณีที่ต้องหาผลรวมแบบมีเงื่อนไขสามารถใช้ฟังชั่นอื่นได้เช่น Sumif หรือSumproduct

เครื่องหมายในการเปรียบเทียบ < น้อยกว่า ใช้กับ น้อยกว่า,ไม่ถึง,ต่ำกว่า,ก่อน > มากกว่า ใช้กับ มากกว่า,หลัง <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ ใช้กับ ไม่เกิน >= มากกว่าหรือเท่ากับ ใช้กับ ตั้งแต่...ขึ้นไป = เท่ากับ ใช้กับ เท่ากัน,เป็น,คือ <> ไม่เท่ากับ ใช้กับ ไม่เท่ากัน,ไม่ใช่,ยกเว้น

SumIF SumIF เป็นคำสั่งในหาผลรวมในการสร้างเงื่อนไข เพื่อทำการตรวจสอบค่าในเซลล์ที่เราต้องการว่าเป็นจริง หรือไม่ รูปแบบ range หมายถึง ช่วงข้อมูลที่ใช้ในการเปรียบเทียบ criteria หมายถึง เงื่อนไขที่ใช้ในการเปรียบเทียบกับ range Sum_range หมายถึง ช่วงของข้อมูลที่ใช้ในการรวมเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง

ตัวอย่างการใช้งาน Function Sumif ตัวอย่างการหาผลรวมยอดขายแต่ละประเภทสินค้า

Function Function ในการนับจำนวนเซลล์ ฟังก์ชันการนับ (Counting) ใช้ในการนับจำนวนเซลล์ภายในพื้นที่ที่กำหนดภายใต้เงื่อนไขใด ๆ ส่วนใหญ่จะใช้ร่วมกับฟังก์ชันอื่น ๆ เช่น COUNT,COUNTA,COUNTBLANK และ COUNTIF

CountIF CountIF เป็นคำสั่งในนับจำนวนของเซลล์ภายในช่วงที่ตรงตามเงื่อนไขที่คุณระบุ รูปแบบ range หมายถึง ช่วงข้อมูลที่ใช้ในการเปรียบเทียบ criteria หมายถึง เงื่อนไขที่ใช้ในการเปรียบเทียบกับ range

ตัวอย่างการนับพนักงานที่มีเงินเดือนน้อยกว่า 10000 ตัวอย่างการใช้งาFunction Conutif ตัวอย่างการนับพนักงานที่มีเงินเดือนน้อยกว่า 10000

กรณีมีหลายเงื่อนไข

Function Function ในการค้นหา ฟังก์ชันการค้นหา (LOOKUP) ใช้ในการค้นหาข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย ค่าที่ต้องการค้นหา ช่วงของข้อมูลที่จะค้นหา และเงื่อนไขอื่น ๆ ขึ้นอยู่กับรูปแบบของฟังก์ชัน เช่น VLOOKUP, HLOOKUP และ INDEX

Vlookup Vlookupใช้สำหรับหาค่าในตารางข้อมูลแนวตั้ง โดยหาค่า (ที่เหมือน หรือ ใกล้เคียง) จากคอลัมน์แรกของตาราง และคืนค่าเป็นข้อมูลที่อยู่ในแถวเดียวกัน จากคอลัมน์ที่ระบุลงไปใน Argument ของฟังก์ชั่น ฟังก์ชั่น VLOOKUP จะไปหารหัสที่ต้องการจากตาราง และก็คืนค่าของคอลัมน์ใดๆ ในตารางนั้นๆ ที่ต้องการมา V ย่อมาจาก Verticle ซึ่ง VLOOKUP จะใช้กับตารางข้อมูลแนวตั้ง ซึ่งเป็นลักษณะของตารางที่ใช้กันตามปกติ  โดยคอลัมน์ที่ต้องการเอารหัสไปเปรียบเทียบต้องอยู่ด้านซ้ายสุดของตารางหรือพื้นที่ของตารางที่เลือก

รูปแบบ - Lookup_value เป็นค่าที่ต้องการหาสามารถเป็นได้ทั้ง ตัวเลข หรือตัวอักษร หรือเซลล์อ้างอิง โดยตัวพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่มีค่าเหมือนกัน (Non-case-sensitive) - Table_array เป็นตารางที่เราต้องการไปหาค่า อาจเป็นช่วงเซลล์ หรือ Range Name ก็ได้ โดยคอลัมน์แรกของตารางต้องเป็นเลขรหัสที่ต้องการให้ Lookup_value มาเทียบค่า Table_array - Col_index_num เป็นเลขลำดับคอลัมน์ของตาราง (Table_array) ซึ่งเป็นคอลัมน์ที่ต้องการให้ดึงค่ามา - Range_lookup ถ้าเป็น TRUE หรือละไว้ จะเอาค่าที่ใกล้เคียงมา ถ้าเป็น FALSE หรือ 0 จะนำค่าที่ตรงกันมา)

ตัวอย่างการใช้งาน Vlookup ตัวอย่างการหา VLOOKUP แบบตรงตัว (Exact Match)

แบบค่าเป็นช่วง (Approximate Match) จะใช้หาค่าที่ตกอยู่ในช่วง เช่น การคำนวณเกรด หรือภาษี โดยดูเงินได้เทียบกับช่วงของอัตราภาษีระดับต่างๆ โดยจะละเงื่อนไขใน Range_lookup หรือจะใส่เป็น TRUE ก็ได้ - การใช้งาน VLOOKUP แบบนี้จะใช้กับหาค่าที่เป็นช่วง เช่น การตัดเกรด หรือ การคำนวณช่วงอัตราภาษี - การใช้ฟังก์ชั่น VLOOKUP แบบนี้ ค่าในคอลัมน์แรกต้องเรียงตามลำดับจากน้อยไปมาก - ฟังก์ชั่น VLOOKUP จะไปหาค่าที่เหมือนกันก่อน ถ้าไม่เจอก็จะไปหาค่าที่มากที่สุด แต่น้อยกว่าค่าที่ต้องการหา แล้วก็จะไปนำค่าของคอลัมน์ที่เราต้องการมาแสดง

ตัวอย่างการใช้งาน Vlookup ตัวอย่างการหา VLOOKUP แบบค่าเป็นช่วง (Approximate Match)