ตึกผู้ป่วยในพิเศษสูติ-นรีเวชกรรม Presentation 10 ตุลาคม 2559
Service Profile หอผู้ป่วย พิเศษสูติ -นรีเวชกรรม จุดเน้นขององค์กร เป้าหมายของหน่วยงาน 1.ลดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด 2.ลดภาวะแทรกซ้อนในทารก 3.ลดอัตราการส่งต่อ 4.ลดอัตราการกลับมารักษาซ้ำโดยไม่ได้วางแผนภายใน28 5.เพิ่มความสำเร็จในกายับยั้งการคลอด 6. ลออัตราความคลาดเคลื่อนในการให้ยา ค่านิยมของหน่วยงาน Patient safety goal 1.เตรียมความพร้อมก่อนผ่าตัดอย่างปลอดภัย 2. การป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการให้การระงับความรู้สึก 3.ลดการติดเชื้อที่สำคัญ(UTI,SSI,สะดือ,ตาทารก) 4. พัฒนาความปลอดภัยจากการให้ยา 5. พัฒนาการบ่งชี้ผู้ป่วยให้ถูกต้อง 6.พัฒนาการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ความต้องการของผู้รับผลงาน ปลอดภัย พึงพอใจ ใส่ใจความเป็นมนุษย์ จุดเน้นขององค์กร 1. พัฒนาคุณภาพบริการสูติ-นรีเวช, ทารก 2. การสร้างเสริมสุขภาพทุกลุ่มโรค 3. พัฒนาพฤติกรรมบริการและการสื่อสาร 4. พัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. องค์กรแห่งความสุข 6. พัฒนาสิ่งแวดล้อม ด้วย`5 ส.และ `HWP. บริบท ข้อกำหนดทางวิชาชีพ ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ มีมาตรฐาน ปลอดภัย ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน และพึงพอใจ ตัวชี้วัดคุณภาพที่สำคัญ ตัวชี้วัด 57 58 59 ตกเลือดหลังคลอด >2 ชม. อัตราการติดเชื้อ อัตราการส่งต่อทารกแรกเกิด 1.51 0.09 Re-admitโดยไม่ได้วางแผน ใน 28 วัน 0.34 0.28 0.13 พันธกิจ/เจตจำนง(หน้าที่เป้าหมาย) ให้บริการผู้รับบริการทางlสูตินรีเวชกรรม-ทารกแรกเกิดตามมาตรฐานวิชาชีพ ด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ปลอดภัยและพึงพอใจ PDSA แผนปฏิบัติการและโครงการ ปี 2559 ร่วมทำ Clinical tracer ผู้ป่วย PPH,PIH,Ectopic preg,Fetal distress,Hypothermia 2.. พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยด้านจิตสังคม การดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ 3.พัฒนาระบบสารสนเทศ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. พัฒนาการดูแลบำรุงรักษาเครื่องมือ 5. พัฒนาสมรรถนะด้านสูติ-นรี,ทารกแรกเกิด 6 แผนจัดหาอัตรากำลัง กระบวนการหลัก care process 1 Assessment 2 Investigate 3 Diagnosis 4 Plan of care 5 care patient 6 Re-assesment 7 Empowerment 8 D/C planHHC วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ/ความเสี่ยงสำคัญ 1ลดการส่งต่อทารกแรกเกิด 2 ลดอัตรา Re-admit 3 ลดMed error 4 ยับยั้งการคลอดไม่สำเร็จ 5ความเสี่ยงทางคลินิกโรคอื่นๆ 6.ลดข้อร้องเรียน 7 สมรรถนะทางด้านวิชาชีพ 8 ส่งเสริมดูแลตนเองที่บ้าน โรค/หัตถการที่สำคัญ `C/S, Vg deliveryNeonatal Jx.ทารกหายใจหอบ Myoma Ut.เจาะเลือด ให้ยาทารก
บริบท ความมุ่งหมาย (Purpose): ให้บริการผู้ป่วยสูติ-นรีเวชกรรม, ทารกแรกเกิด และผู้ป่วยสาขาอื่นที่แพทย์อนุญาตให้เข้าพักในห้องพิเศษ และผู้ป่วยแยกโรค ตามมาตรฐานวิชาชีพ ให้ปลอดภัย ด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ
อัตรากำลัง พยาบาลวิชาชีพ ผู้ช่วยเหลือคนไข้ พนังานบริการ 8 คน รวมหัวหน้า อายุงาน >10ปี4 คน อายุงาน6-10ปี 2 คน อายุงาน3-5ปี 2คน อายุงาน1-2ปี -คน ผู้ช่วยเหลือคนไข้ 4 คน อายุงาน > 10ปี -คน อายุงาน 6-10 ปี 1คน อายุงาน 3-5 ปี 1 คน อายุงาน 1-2ปี 2คน พนังานบริการ อายุงาน>10ปี 2คน อายุงาน6-10ปี1คน อายุงาน3-5ปี ปี-คน อายุงาน1-2ปี 1 คน
ขอบเขตบริการ (Scope of Service): ขอบเขตการให้บริการ ดูแลผู้ป่วยที่ไม่ได้อยู่ในภาวะวิกฤต ดังนี้ มารดาหลังคลอดทางช่องคลอด- รับย้าย จากห้องคลอด 2 ชั่วโมงหลังคลอดทั้งคลอดปกติ และคลอดผิดปกติ - รับใหม่ในรายที่คลอดก่อนมาถึงโรงพยาบาล(BBA.)เกิน 2 ชั่วโมง และมารดาหลัง คลอดที่กลับมารักษาด้วยภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด มารดาที่ผ่าตัดคลอด – รับย้าย 8 ชั่วโมงหลังผ่าตัดคลอด หลังสังเกตอาการคงที่แล้วจากตึกสูติ-นรีเวชกรรม หรือรับย้ายจากห้องพักฟื้นในกรณีแพทย์เจ้าของไข้ และวิสัญญีแพทย์อนุญาต หญิงตั้งครรภ์ – ดูแลหญิงที่มีภาวะแทรกซ้อนร่วมกับการตั้งครรภ์ ผู้ป่วยนรีเวชกรรม- รับดูแลผู้ป่วยทุกกลุ่มอายุ หากเป็นผู้ป่วยผ่าตัดใหญ่จะรับดูแลหลังจากสังเกตอาการจนอาการคงที่ (8ชั่วโมงหลังผ่าตัด) หรืออยู่ในดุลยพินิจของแพทย์เจ้าของไข้ และวิสัญญีแพทย์ ผู้ป่วยผ่าตัดเล็กรับดูแลหลังผ่าตัดเลย ยกเว้นยังไม่ตื่นดีวิสัญญีจะย้ายไปสังเกตอาการที่ตึกสูติ-นรีเวชกรรมก่อนประมาณ 2 ชั่วโมง ทารกแรกเกิด- รับดูแลทารกทั้งทารกปกติ และทารกป่วยที่ไม่อยู่ในระยะวิกฤต ผู้ป่วยแยกโรค-รับดูแลผู้ป่วยสูติ-นรีฯ ทารกแรกเกิด ที่ต้องการแยกโรค ได้แก่ มารดา หรือทารก ที่เป็นโรคอิสุกอิใส หัด ตาแดง เป็นต้น
ตึกพิเศษสูติ-นรีเวชกรรม ลักษณะสำคัญของงานบริการและปริมาณงาน: จำนวนผู้ป่วยรวม จำนวนผู้ป่วยทั่วไป และทารกแรกเกิด ทั่วไป ทารกแรกเกิด ราย การแปลผลและการใช้ประโยชน์ : ผู้ป่วยที่รับไว้ดูแลในทุกสาขารวมเฉลี่ย 200 ราย ต่อเดือน โดยอัตราส่วนทารกแรกเกิด : ผู้ป่วยทั่วไป 1:1.5 `(ผู้ป่วยทั่วไป หมายถึงมารดาหลังคลอด หญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยนรีเวชกรรม และสาขาอื่นที่ไม่ใช่ทากแรกเกิด)
ลักษณะสำคัญของงานบริการและปริมาณงาน: บริบท (Context) 2/3 ตึกพิเศษสูติ-นรีเวชกรรม ลักษณะสำคัญของงานบริการและปริมาณงาน: จำนวนวันนอนรวมรวม จำนวนวันนอนรพ.เฉลี่ย วัน การแปลผลและการใช้ประโยชน์ : ทารกแรกเกิดทุกคน ตามมาตรฐานการดูแลต้องนอนโรงพยาบาลอย่างน้อย 48 ชั่วโมง เพื่อคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน และภาวะตัวเหลือง ในรายที่วันนอนน้อยกว่า48 ชั่วโมง เนื่องจากเป็นทารกที่มีภาวะแทรกซ้อนมีการนอนรักษาที่ตึกสูติ-นรีเวชกรรมก่อนย้ายขึ้นหาแม่ที่ตึกพิเศษ หรือมีการย้ายกลับไปสังเกตอาการภายหลัง ส่วนมารดาและผู้ป่วยทั่วไประยะเวลานอนโรงพยาบาลเฉลี่ย2.5 วัน โดยมารดาหลังคลอดส่วนใหญ่เป็นมารดาหลังผ่าตัดคลอดซึ่งต้องพักรักษาในโรงพยาบาลอย่างต่ำ 3 วัน
ลักษณะสำคัญของงานบริการและปริมาณงาน: อัตราครองเตียง Productivity ถึงสค.59 การแปลผลและการใช้ประโยชน์ : การคิดอัตราครองเตียง จะไม่นำวันนอนของทารกแรกเกิดที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนมาคิด อัตราการใช้ห้องพิเศษ เฉลี่ยต่อวัน = 9 ห้อง (มีจำนวนห้องที่รับผู้ป่วย 12 ห้อง) Productivity มีความเหมาะสม อยู่ในเกณฑ์ คือ ร้อยละ 90 – 110 และมีแนวโน้มสูงขึ้นเนื่องจากเริ่มรับดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดจากห้องพักฟื้นโดยไม่ต้องสังเกตอาการที่ตึกสูติ-นรีเวชกรรม ทำให้มีการดูแลผู้ป่วยประเภท Critical ill เพิ่มขึ้น
จำนวนผู้ป่วยรับใหม่ – รับย้าย เฉลี่ยต่อวัน ตึกพิเศษสูติ-นรีเวชกรรม ลักษณะสำคัญของงานบริการและปริมาณงาน: จำนวนผู้ป่วยรับใหม่ – รับย้าย เฉลี่ยต่อวัน อัตราผู้ป่วยจำหน่ายเฉลี่ย/วัน การแปลผลและการใช้ประโยชน์ :การรับผู้ป่วยไว้ดูแลส่วนใหญ่ เป็นการรับย้ายการดูแลมารดา และทารกหลังคลอด ซึ่งจะย้ายทั้งจากห้องคลอด และตึกสูติ – นรีเวชกรรม รับย้ายแฉลี่ย 6 รายต่อวัน , การรับใหม่เฉลี่ยต่อวันค่อนข้างน้อย โดยบางวันไม่มีการรับใหม่ผู้ป่วยเลย ผู้ป่วยที่รับใหม่จะเป็นผู้ป่วยนรีเวชกรรม หญิงตั้งครรภ์ที่มาเตรียมคลอด หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อน ทารกที่ตัวเหลืองหลังการจำหน่าย เป็นต้น ส่วนการจำหน่าย เฉลี่ยมีจำนวนใกล้เคียงกับผู้ป่วยที่รับใหม่-รับย้าย เนื่องด้วยมีการหมุนเวียนผู้ป่วยเร็ว
ลักษณะสำคัญของงานบริการและปริมาณงาน: ตึกพิเศษสูติ-นรีเวชกรรม ลักษณะสำคัญของงานบริการและปริมาณงาน: จำนวนผู้ป่วยเฉลี่ย ต่อ วัน การแปลผลและการใช้ประโยชน์ :ผู้ป่วยคงพยาบาลเฉลี่ย ต่อวัน 13 – 14 ราย ต่อวัน ยอดผู้ป่วยสูงสุด 21 ราย / วัน ต่ำสุด 6-8 ราย / วัน
ศักยภาพและข้อจำกัดในด้านผู้ปฏิบัติงาน เครื่องมือ เทคโนโลยี เครื่องมือที่สำคัญ 1. Radiant warmerมีที่วางทารกCPR. 1 เครื่อง 2. Pulse Oxymeter 1 เครื่อง 3. เครื่องปั่น Hct. 1 เครื่อง 4. Drop tone. 1 เครื่อง 5. เครื่องชั่งน้ำหนักทารกดิจิตอล 1 เครื่อง 6 . เครื่องดูดเสมหะโมบาย 1 เครื่อง 7. เครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือด 1 เครื่อง 8. ออกซิเจนbox. 2 อัน 9. เครื่องปั๊มน้ำนม 1 เครื่อง 10. รถEmergency พร้อมอุปกรณ์ช่วยชีวิตมาตรฐาน 1 คัน 11. Infusion pump 1 เครื่อง 12.`เครื่อง Photo Therapy 2 เครื่อง 13.เครื่อง Patient Monitor 1 เครื่อง *ข้อจำกัด มีเครื่องมือที่ยังจำเป็นใช้แต่ยังไม่มี คือเครื่องตรวจMBB.ที่ต้องใช้วิธีนำtubeไปตรวจที่ตึกสูติ-นรีเวชกรรม หากจำป็นใช้เครื่องEKG. ยืมทีตึกพิเศษศัลยกรรม และเครื่องDefibrulator ยืมที่ตึกศัลยกรรมชาย
เรียงลำดับโรคที่สำคัญ มารดาหลังผ่าตัดคลอด มารดาคลอดทางช่องคลอด ทารกตัวเหลือง ทารกหายใจหอบ ผู้ป่วยเนื้องอกในมดลูก
เรียงลำดับหัตถการที่สำคัญ การฉีดยาทารก การเจาะเลือดทารกตรวจสารเหลืองและภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน เปิดเส้นให้สารน้ำทารก-ผู้ใหญ่ ฉีดวัคซีนทารก ทำแผลผ่าตัดทางสูติ-นรีเวชกรรม สวนล้างช่องคลอดก่อนผ่าตัดทางนรีเวชกรรม
ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ (Key Quality Issues): ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในมารดาหลังคลอด ดูแลทารกทารกปกติ และทารกที่มีภาวะแทรกซ้อนอย่างมีคุณภาพ ดูแลผู้ป่วยให้ปลอดภัยด้วย Patient Safety Goal. ส่งเสริมสายสัมพันธ์ และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ดูแลผู้ป่วย และญาติด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
โรค/หัตถการ ที่มีความเสี่ยงสูง/ค่าใช้จ่ายสูง -ทารกตัวเหลือง -ทารกหายใจหอบ -ทารก Sepsis. -ตกเลือดหลังคลอด -ชักในภาวะครรภ์เป็นพิษ -การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง -การผ่าตัดใหญ่ทางนรีเวชกรรม
ความเสี่ยงที่สำคัญ ความเสี่ยงทางคลินิกที่สำคัญได้แก่ การประเมินภาวะSepsisในทารกล่าช้า ทารกหายใจหอบแรกรับ และขณะดูแล พบภาวะSevere pre-eclampsia ขณะดูแลรักษา
ประเด็นการสร้างเสริมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง: การส่งเสริมสุขภาพเจ้าหน้าที่ : ส่งเสริมให้ออกกำลังกาย สวดมนต์ การส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วย :ส่งเสริมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่,สวดมนต์ การเชื่อมโยงการดูแลรักษาสู่ชุมชน :ส่ง HHC.ในโรคสำคัญ ดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2557 2558 2559 1.อัตราการตกเลือด>2ชม.หลังคลอด 2.อัตราการติดเชื้อในมารดาหลังคลอด 3.อัตราการเป็นลมมารดาหลังคลอด 0.11 0.12 0.09 4.อัตราทารกตัวเหลือง ≤14 13.53 14.01 12. 5.อัตราส่งต่อทารกตัวเหลือง ≤1 1.56 0.76 6.จำนวนทารกหายใจหอบขณะแรกรับย้าย 1.96 1.52 1.06 7.อัตราการทารกหายใจหอบขณะดูแล 1.63 1.29 2.76
ตัวชี้วัด 87.50 100 95.22 94.59 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2557 2558 2559 8.อัตราการย้ายทารกหายใจหอบลงตึกสูติ-นรี 1.09 1.07 2.9 9.อัตราส่งต่อทารกหายใจหอบ 0.21 0.63 10. อัตราทารกมีภาวะตัวเย็น 054 0.54 0.75 1.27 11. อัตราการให้ยาผิด(Admin error) 12. อัตรากลับมารักษาซ้ำภายใน28วัน ≤ 0.34 0.34 0.09 0.20 13. อัตราการยับยั้งการคลอดสำเร็จ 80% 87.50 100 14.อัตราทารกรับนมแม่อย่างเดียวก่อนจำหน่าย 95.22 94.59
อัตราทารกตัวเหลือง-ส่งต่อ การแปลผลและการใช้ประโยชน์ : อัตราทารกตัวเหลืองมีแนวโน้มลดลง และไม่มีการส่งต่อเพื่อรักษาจากการรักษาด้วยการส่องไฟไม่ได้ผล
อัตราทารกหายใจหอบ การแปลผลและการใช้ประโยชน์ :ทารกหายใจหอบเฉลี่ย 5-6 ราย ต่อเดือน สาเหตุ ส่วนใหญ่เป็นทารกที่คลอดโดยการผ่าตัดคลอด ,ทารกมีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ และสาเหตุอื่นๆ
อัตราทารกตัวเย็นขณะดูแล อัตราทารกตัวเย็นเกิน 1 ชม. การแปลผลและการใช้ประโยชน์ : ทารกตัวเย็นเฉลี่ย 1-1.5 ราย ต่อเดือน สาเหตุ เกิดจากเปียกแฉะปัสสาวะ, มารดาไม่ห่อตัว , และเคยมีประวัติตัวเย็นก่อนรับมาดูแล แต่สามารถดูแลไม่ให้ตัวเย็นนานเกิน 1 ชั่วโมง และไม่มีภาวะแทรกซ้อน
อัตราทารกการยับยั้งการคลอดสำเร็จ การแปลผลและการใช้ประโยชน์ :การยับยั้งการคลอด ใช้การยับยั้งด้วยยา BRICANYL หรือ ยา Adalat ซึ่งส่วนใหญ่ ยับยั้งได้สำเร็จ ปี 2557 ยับยั้งไม่สำเร็จ 1 ราย เพราะมีภาวะ Severe pre-eclampsia ร่วมด้วย จึงdrip.MgSO4 แล้ว refer
อัตรา Re-admitted การแปลผลและการใช้ประโยชน์ : ปี 2557 re-admit 4 ราย preg c bronchitis เป็น 2 ราย AGE1 ราย (กุมาร) preterm1 ราย ปี 2558 จำนวน 2 ราย เป็น Treatened abortion และปี 2559 จำนวน 1 ราย เป็น pneumonia (กุมาร)
อัตราความคลาดเคลื่อนทางยา การแปลผลและการใช้ประโยชน์ :
อัตราทารกได้รับนมแม่อย่างเดียวก่อนจำหน่าย การแปลผลและการใช้ประโยชน์ : ทารกกินนมผสมระหว่างการดูแลรักษา ก่อนการจำหน่าย สาเหตุเนื่องจาก มีภาวะ hypoglycemia ,น้ำนมมารดามาช้า โดยเฉพาะในรายผ่าตัดคลอด หรือมารดาวิตกกังวลมาก
อัตราความพึงพอใจ การแปลผลและการใช้ประโยชน์ : ปี57เป็นปีที่เริ่มเปิดให้บริการ พบปัญหาความไม่พร้อมของอาคารสถานที่ เช่น ท่อน้ำอุดตัน หลังคารั่ว ประตูติดขัดเวลาปิดเปิด ทำให้ผู้รับบริการมีความไม่พอใจในเรื่องสถานที่สูง ส่งผลให้ความพึงพอใจค่อนข้างต่ำในช่วง6เดือนแรกที่ให้บริการ หลังจากมีการปรับปรุง และนำข้อเสนอแนะด้านอื่นๆมาพัฒนา อัตราความพึงพอใจจึงสูงขึ้น
การพัฒนาระบบงาน/การแก้ไข/การป้องกันที่ระบบวางไว้ 1. การประเมินความเสี่ยงแรกรับ 2. การดูแลผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง 3. การดูแลผู้ป่วยวิกฤต 4. การวางแผนการรักษาโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ 5. ทบทวน 12 กิจกรรม *** เน้นการออกแบบและจัดระบบงานอย่างเหมาะสม มีการปฏิบัติตามระบบที่ออกแบบไว้ ประเมินแบบที่ใช้และระบบงานว่าทำได้ดีสามารถใช้ประโยชน์จากตัวชี้วัดอย่างไร มีการปรับปรุงระบบงานที่ทำแล้วและวางแผนทำอะไรต่อไป
กิจกรรมพัฒนา กิจกรรมพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สำคัญ จากปัญหา ตัวชี้วัด ความเสี่ยง กิจกรรมทบทวน กิจกรรมพัฒนาเฉพาะโรค - Clinical tracer TKR , Hip arthoplasy - กิจกรรมพัฒนาโรคสำคัญอื่น ๆ
นวัตกรรม แผ่นป้ายแจ้งเตือนการจัดยาพร้อมแจก นวัตกรรมป้ายอาหารสำหรับญาติ(กรณีผู้ป่วยงดน้ำ งดอาหาร) ซึ่งทำร่วมกับงานโภชนาการ นวัตกรรมตุ๊กตาสาธิตการเช็ดสะดือเปียก สะดือแห้ง
แผนการพัฒนาต่อเนื่อง 1. พัฒนาการดูแลผู้ป่วยเบาหวานขณะตั้งครรภ์โดยใช้ระบบ Nurse Case Manangement 2. . พัฒนาการส่งเสริม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยใช้ Nurse Case Manangement 3. วิเคราะห์และแก้ปัญหาตัวชี้วัดที่มีปัญหา 4. พัฒนาเรื่อง D/C plan และการรักษาต่อเนื่องโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ 5. พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยด้านจิตสังคม และการดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ 6. พัฒนาระบบสารสนเทศร่วมกับสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง 7. พัฒนาดูแล บำรุงรักษาเครื่องมือ 8. พัฒนาสมรรถนะทางด้านสูติ-นรีเวชกรรม,ทารกแรกเกิด 9. แผนจัดหาอัตรากำลัง