โครงการพัฒนาระบบการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปผลการทดลองใช้คู่มือคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง วันที่ 18-20 กรกฎาคม พ.ศ.2561
วัน เวลา กิจกรรม 18 ก.ค. 61 08.30-09.00 ลงทะเบียน 09.00-09.15 กล่าวเปิดและชี้แจงวัตถุประสงค์ของการประชุมเชิงปฏิบัติการ 09.15-10.30 ทบทวนกระบวนการสร้างและทดลองใช้คู่มือ โดย รศ.ดร.ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์ และทีมวิทยากร 10.30-10.45 พักอาหารว่าง 10.45-12.00 สรุปข้อมูลจากเอกสารายงานผลการทดลองใช้คู่มือ 12.00-13.00 อาหารกลางวัน 13.00-14.45 ถอดบทเรียนการทดลองใช้คู่มือฯ ของกลุ่มผู้ประเมิน และสถานศึกษาที่รับการประเมิน(โดยใช้เทคนิค Story telling) 14.45-15.00 15.00-17.00 ถอดบทเรียนการทดลองใช้คู่มือฯ ของกลุ่มผู้ประเมิน และสถานศึกษาที่รับการประเมิน (โดยใช้เทคนิค Story telling) (ต่อ)
วัน เวลา กิจกรรม 19 ก.ค. 61 08.30-09.00 ลงทะเบียน 09.00-10.30 -ประชุมกลุ่มเพื่อถอดบทเรียนในประเด็น “วิธีการประเมิน” โดยใช้เทคนิค AAR โดย รศ.ดร.ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์ และทีมวิทยากร 10.30-10.45 พักอาหารว่าง 10.45-12.00 นำเสนอผลการปฏิบัติงานกลุ่ม 12.00-13.00 อาหารกลางวัน 13.00-14.45 -ประชุมกลุ่มเพื่อถอดบทเรียนในประเด็น “ประเด็นการประเมินและตัวชี้วัด” โดยใช้เทคนิค AAR 14.45-15.00 15.00-17.00
20 ก.ค. 61 08.30-09.00 ลงทะเบียน 09.00-10.30 -ประชุมกลุ่มเพื่อถอดบทเรียนในประเด็น “คู่มือคัดเลือกฯ” โดยใช้เทคนิค AAR โดย รศ.ดร.ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์ และทีมวิทยากร 10.30-10.45 พักอาหารว่าง 10.45-12.00 นำเสนอผลการปฏิบัติงานกลุ่ม 12.00-13.00 อาหารกลางวัน 13.00-14.30 ระดมสมองเพื่อวางแผนการปรับปรุงคู่มือฯและแนวปฏิบัติในการคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบฯ สำหรับกิจกรรมที่ 2 14.30-14.45 -พักอาหารว่าง -ปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
วัตถุประสงค์ของการประชุมเชิงปฏิบัติการ วัตถุประสงค์หลัก ติดตามผลการทดลองใช้คู่มือฯ โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะ ดังนี้ 1. วิเคราะห์ปัญหา/อุปสรรคการทดลองใช้คู่มือฯ ของกลุ่มผู้ประเมิน และสถานศึกษาที่รับการประเมิน 2. วิเคราะห์ปัญหา/อุปสรรควิธีการประเมินเพื่อคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบฯ 3. วิเคราะห์ปัญหา/อุปสรรคประเด็นการประเมินเพื่อคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบฯ 4. วิเคราะห์ปัญหา/อุปสรรคประเด็นคู่มือการประเมินฯ 5. วางแผนปรับปรุงคู่มือฯ และแนวปฏิบัติในการคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบฯ
ความเป็นมาของการจัดทำคู่มือคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบ ระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ออก ระเบียบว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการ ควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 โดยอาศัย อำนาจตามพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2542 มาตรา 15 (3) (ก) และ (ค) เพื่อให้หน่วยงานที่รับงบประมาณแผ่นดิน มาดำเนินการ นำมาตรฐานการควบคุม ภายในที่ออกตามระเบียบนี้ไปเป็น แนวทางในการจัดวางระบบการควบคุม ภายใน และให้จัดทำรายงานการ ประเมินผลการควบคุมภายในต่อผู้กำกับ ดูแลและคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ภายใน 90 วัน
ทบทวนกระบวนการสร้าง และทดลองใช้คู่มือ
กระบวนการจัดทำคู่มือฯ กิจกรรมการสร้างตัวชี้วัดสถานศึกษาต้นแบบ ระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ระหว่าง 12-15 ก.พ.59 กิจกรรมการสร้างเกณฑ์คัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบ ระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ระหว่าง 27-31 มี.ค.59 กิจกรรมการทบทวนร่างคู่มือการดำเนินงานสถานศึกษาต้นแบบ ระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ระหว่าง 6-8 มิ.ย.59
กิจกรรมการสร้างตัวชี้วัดสถานศึกษาต้นแบบระบบการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง ระหว่าง 12-15 ก.พ.59
กิจกรรม วิธีดำเนินการ ระยะเวลา 13 ก.พ.59 09.00-10.30 1. กำหนดกรอบการดำเนินงาน -ประชุมกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ 11 ก.พ.59 15.00-20.00 2. สร้างแนวคิด/ประสบการณ์เกี่ยวกับการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง -ศึกษาดูงาน 12 ก.พ.59 3. สร้างแนวคิดเกี่ยวกับเกณฑ์และตัวชี้วัด -ฟังบรรยาย 13 ก.พ.59 09.00-10.30
กิจกรรม วิธีดำเนินการ ระยะเวลา 13.00-17.30 4. สะท้อนความคิดจากการศึกษาดูงาน -อภิปรายกลุ่ม 13 ก.พ.59 10.45-11.40 5. สร้างแนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงเชิงรุก -บรรยาย -แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 11.40-12.00 6. จัดทำคำบรรยายความสำเร็จที่คาดหวังตาม 5 ประเด็น/ด้าน -กิจกรรมกลุ่ม 3 กลุ่ม ตามประเภทของสถานศึกษา 13.00-17.30
กิจกรรม วิธีดำเนินการ ระยะเวลา 7. สังเคราะห์คำบรรยายความสำเร็จที่คาดหวังตาม 5 ประเด็น/ด้าน -กิจกรรมกลุ่ม 5กลุ่ม ตาม 5 ประเด็น/ด้าน 13 ก.พ.59 18.30-20.30 8. จัดทำตัวชี้วัดเชิงรูปธรรมตามคำบรรยายความสำเร็จที่คาดหวังตาม 5 ประเด็น/ด้าน 14 ก.พ.59 08.30-12.00 9. นำเสนอตัวชี้วัดเชิงรูปธรรมตามคำบรรยายความสำเร็จที่คาดหวังตาม 5 ประเด็น/ด้าน -อภิปรายกลุ่ม 13.00-20.30 15 ก.พ.59
ผลการดำเนินกิจกรรมสร้างตัวชี้วัดสถานศึกษาต้นแบบ ระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ระหว่าง 12-15 ก.พ.59 องค์ประกอบ ประเด็น ตัวชี้วัด 1.ด้านสภาพแวดล้อมของการควบคุม 7 21 2.การประเมินความเสี่ยง 3 8 3.กิจกรรมการควบคุม 28 4.สารสนเทศและการสื่อสาร 2 5 5.การติดตามประเมินผล 9 71
กิจกรรมการสร้างเกณฑ์คัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ระหว่าง 27-31 มี.ค.59
กระบวนการ กิจกรรม ระยะเวลา 1. วางแผน -ประชุมผู้ทรงคุณวุฒิและทีมวิทยากร 27 มี.ค 59 2. ดำเนินการ 2.1 ชี้แจงเป้าหมายและกระบวนการของกิจกรรม 2.2 ให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเกณฑ์การประเมิน 2.3 นำเสนอร่างตัวชี้วัด 2.4 แบ่งกลุ่มทบทวนตัวชี้วัด (5 กลุ่ม) 2.5 นำเสนอผลการทบทวนตัวชี้วัด 28 มี.ค 59
กระบวนการ กิจกรรม ระยะเวลา 2.ดำเนินการ 2.6 แบ่งกลุ่มสร้างเกณฑ์การประเมิน(5 กลุ่ม) 2.7 นำเสนอร่างเกณฑ์การประเมิน 2.8 ปรับแก้เกณฑ์การประเมิน 29 มี.ค 59 2.9 นำเสนอเกณฑ์การประเมิน 2.10 แบ่งกลุ่มร่างแหล่งเอกสาร/ข้อมูล/ประเด็นที่ควรพิจารณา 2.11 นำเสนอร่างแหล่งเอกสาร/ข้อมูล/ประเด็นที่ควรพิจารณา 2.12 ปรับแก้แหล่งเอกสาร/ข้อมูล/ประเด็นที่ควรพิจารณา 30 มี.ค 59
กระบวนการ กิจกรรม ระยะเวลา 3. สรุปผลการดำเนินการ 3.1 นำเสนอแหล่งเอกสาร/ข้อมูล/ประเด็นที่ควรพิจารณา 3.2 นำเสนอแนวทางบริหารจัดการคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง 3.3 ปรับและสรุปแนวทางบริหารจัดการคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง 31 มี.ค 59
คู่มือคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบ ผลการดำเนินกิจกรรมการสร้างเกณฑ์คัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ระหว่าง 27-31 มี.ค.59 ร่าง คู่มือคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบ ระบบการควบคุมภายในและการ บริหารความเสี่ยง สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษา พิเศษ
ร่างคู่มือการดำเนินงานสถานศึกษาต้นแบบ กิจกรรมการทบทวน ร่างคู่มือการดำเนินงานสถานศึกษาต้นแบบ ระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ระหว่าง 6-8 มิ.ย.59
กระบวนการ กิจกรรม ระยะเวลา 1. วางแผน 1.1 ประชุมผู้ทรงคุณวุฒิและทีมวิทยากร 1.2 ชี้แจงเป้าหมายและกระบวนการของกิจกรรม 1.3 ให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำคู่มือ 1.4 ทบทวนองค์ประกอบของร่างคู่มือฯ (ภาพรวมของคู่มือ) 6 มิ.ย.59 09.00-12.00 2.ดำเนินการ 2.1 ทบทวนองค์ประกอบของร่างคู่มือฯ (แบ่งกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ) 2.2 ทบทวนเกณฑ์การประเมิน (3 กลุ่ม สถานศึกษา) 2.3 นำเสนอผลการทบทวน 13.00-20.00
กระบวนการ กิจกรรม ระยะเวลา 2.ดำเนินการ 2.1 นำเสนอผลการทบทวน (ต่อ) 2.2 ปรับแก้ไของค์ประกอบของร่างคู่มือ และเกณฑ์การประเมิน 2.3 นำเสนอคู่มือฯ 2.4 จัดทำคู่มือฯ 2.5 ประชุมกลุ่มเพื่อสำรวจความต้องการและข้อเสนอแนะของสถานศึกษาที่มีต่อการประเมินสถานศึกษาต้นแบบ 7 มิ.ย.59 09.00-20.00 3. สรุปผลการดำเนินงาน 3.1วางแผนทดลองใช้คู่มือและคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบฯ 3.2สรุปคู่มือฯ และ กำหนดการทดลองใช้คู่มือและคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบฯ 8 มิ.ย.59 09.00-12.00
สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ระหว่าง 6-8 มิ.ย.59 ผลการดำเนินกิจกรรมการทบทวนร่างคู่มือการดำเนินงานสถานศึกษาต้นแบบระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ระหว่าง 6-8 มิ.ย.59
องค์ประกอบ ด้าน/ประเด็น ตัวชี้วัด 1.ด้านสภาพแวดล้อมของการควบคุม 7 10 2.การประเมินความเสี่ยง 3 4 3.กิจกรรมการควบคุม 8 4.สารสนเทศและการสื่อสาร 2 6 5.การติดตามประเมินผล 5 21 31
ข้อตกลงเบื้องต้น 1. การดำเนินงานการสร้างตัวชี้วัด สถานศึกษาต้นแบบระบบการควบคุม ภายในและการบริหารความเสี่ยง ต้อง เป็นการดำเนินงานแบบมีส่วนร่วมของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้เกิดการยอมรับ 2. ตัวชี้วัดสถานศึกษาต้นแบบระบบการ ควบคุมภายในและการบริหารความ เสี่ยง มีเพียง 1 ชุด สำหรับ สถานศึกษาสังกัดสำนักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ ทั้ง 3 ประเภท
ข้อตกลงเบื้องต้น (ต่อ) 3. ตัวชี้วัดสถานศึกษาต้นแบบระบบการ ควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง เพื่อไปติดตามการดำเนินงานด้านการ ควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ตามกรอบการดำเนินงาน 5 องค์ประกอบ ของสำนักงานการ ตรวจเงินแผ่นดิน เป็นการดำเนินการ นำร่อง เพื่อกระตุ้นให้สถานศึกษาได้ ตระหนักถึงความสำคัญและยกระดับการ ดำเนินงานด้านการควบคุมภายในและ การบริหารความเสี่ยง
แนวทางการนำคู่มือฯไปใช้ ปี งบประมาณ2559 ระยะที่ 1 การทดลองใช้คู่มือฯ กับสถานศึกษานำร่อง 24 แห่ง จาก 8 กลุ่มสถานศึกษา ระยะที่ 2 การคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบระบบควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ปี งบประมาณ2560
ระยะที่ 1 การทดลองใช้คู่มือฯ กับสถานศึกษานำร่อง 24 แห่ง จาก 8 กลุ่มสถานศึกษา
รูปแบบการประเมินเพื่อทดลองใช้คู่มือ สถานศึกษา นำร่อง 24 แห่ง กรณีที่ 1 ประเมินเอกสาร สถานศึกษา นำร่อง 4 แห่ง กรณีที่ 2 ประเมินเอกสาร และภาคสนาม
รายชื่อสถานศึกษาที่รับการประเมินกรณีที่ 2 ประเมินเอกสาร และภาคสนาม ลำดับที่ สถานศึกษา 1 โรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ 2 ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจำจังหวัดนครนายก 3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 50 จังหวัดขอนแก่น 4 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช
รายนามกรรมการประเมิน 8 กลุ่ม
การติดตามประเมินผลการทดลองใช้คู่มือฯ กับสถานศึกษานำร่อง 24 แห่ง สรุปข้อมูลจากเอกสาร การติดตามประเมินผลการทดลองใช้คู่มือฯ กับสถานศึกษานำร่อง 24 แห่ง
สรุปผลการทดลองใช้ คู่มือคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงโดยใช้แนวคิด PLC
ส่วนที่ 2 ความรู้ในคน เน้นการจัดกระบวนการ ฝึกการใช้สมองทั้งสองฝั่ง Process of Knowing Discussion Dialogue Problem - solving Storytelling ฝึกการใช้สมองทั้งสองฝั่ง
ความรู้ที่อยู่ในตัวคน ความรู้ที่อยู่ในตำรา Tacit knowledge ความรู้ที่อยู่ในตัวคน ร้อยละ 80 Explicit knowledge ความรู้ที่อยู่ในตำรา ร้อยละ 20
กระบวนการของชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) 2.ระดมความคิด 1.เตรียมครู สร้าง community 3.ออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน 4.ลงมือปฏิบัติและสะท้อนคิด 5.เผยแพร่และต่อยอดความรู้
3.1 เตรียมครู สร้าง community กำหนดสมาชิกและบทบาทหน้าที่ของ สมาชิกชุมชน ทำความเข้าใจให้ตรงกันระหว่างสมาชิก และการสร้างสัญญาใจร่วมกันในการ ดำเนินงาน กำหนดแผนการดำเนินงานร่วมกัน: เวลา กระบวนการ เครื่องมือสำหรับดำเนินการ และการรายงานผลการดำเนินการ กำหนดเป้าหมายให้ตรงกันของสมาชิก
บทบาทของสมาชิกต่อชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ผู้ดำเนินการหลัก (Facilitator) ผู้บันทึกสิ่งสำคัญ (Community Historian) สมาชิกชุมชน (Member) ผู้สนับสนุน (Sponsor) ผู้เชี่ยวชาญ (Expert)
ก่อนจะเริ่มต้นกระบวนการ PLC ทุกคนต้อง.... ยอมรับว่า ระบบการ ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงมีผล ต่อการพัฒนาสถานศึกษา สมาชิกในกลุ่มแต่ละคนมี ความแตกต่างกัน บริบทของแต่ละสถานศึกษามี ความ แตกต่างกัน ทุกคนต้องการโอกาสใน การเรียนรู้ร่วมกัน
หลักการทำงานร่วมกันของสมาชิก PLC Honesty & Humanity: ยึดข้อมูลจริงที่เกิดขึ้นและเคารพกันอย่างจริงใจ Option & Open-mind:เลือกสรรสิ่งดีที่สุดให้แก่สถานศึกษาและพร้อมเปิดเผย/เปิดใจเรียนรู้จากผู้อื่น Patience & Persistence :อดทน มุ่งมั่นทุ่มเท พยายามจนเกิดผลอย่างชัดเจน Efficacy & Enthusiasm :เชื่อมั่นในผลของระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงและกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตนอย่างเต็มที่
3.2 ระดมความคิด จุดมุ่งหมายของการระดมความคิด 1. ระดมความคิดเห็นของสมาชิกเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลงหรือปัญหา 2. กำหนดสิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลงหรือปัญหาจากจุดเล็ก ๆ 3. ค้นหาสาเหตุสำคัญของปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง
เทคนิค/วิธีการที่นำไปใช้ในการระดมความคิด การประชุมระดมสมอง(Workshop/Brainstorming) เทคนิคการเล่าเรื่อง (Story telling) สรุปความคิดโดยอาจใช้บัตรคำ 3 คำ สร้างสรรค์ (Create) รักษาไว้ (Keep) และหยุดหรือเลิก (Drop)
3.3 ออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน จุดมุ่งหมายของการออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน 1. วิเคราะห์แนวทางแก้ไขปัญหาหรือวิธีปฏิบัติเพื่อเปลี่ยนแปลง โดยการระดมความคิดเห็นจากสมาชิก/หาคนมาแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์/ค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ 2. ร่วมกันกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาหรือวิธีปฏิบัติเพื่อ เปลี่ยนแปลง 3. ร่วมกันวางแผนการนำแนวทางแก้ไขปัญหาหรือวิธีปฏิบัติเพื่อเปลี่ยนแปลงไปใช้
เทคนิค/วิธีการที่นำไปใช้ในการออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน การประชุมระดมสมอง(Workshop/Brainstorming) เทคนิคการเล่าเรื่อง (Story telling) สรุปความคิดโดยอาจใช้บัตรคำ 3 คำ สร้างสรรค์ (Create) รักษาไว้ (Keep) และหยุดหรือเลิก (Drop)
3.4 ลงมือปฏิบัติและสะท้อนคิด จุดมุ่งหมายของการลงมือปฏิบัติและสะท้อนคิด 1. แก้ไขปัญหาหรือเปลี่ยนแปลงสิ่งที่กำหนดตามแผนที่ วางไว้ 2. ร่วมกันทบทวนหลังปฏิบัติงาน (After Action Review: AAR) เป็นระยะ ๆ 3. ปรับปรุงแนวทางหรือวิธีปฏิบัติที่นำไปใช้อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ปัญหาได้รับการแก้ไขหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น
เทคนิค/วิธีการที่นำไปใช้ในการสะท้อนคิด การประชุมระดมสมอง(Workshop/Brainstorming) เทคนิคการเล่าเรื่อง (Story telling) ร่วมกันทบทวนหลังปฏิบัติงาน (After Action Review: AAR) เป็นระยะ ๆ
3.5 เผยแพร่และต่อยอดความรู้ จุดมุ่งหมายของการเผยแพร่และต่อยอดความรู้ 1. บันทึกแนวทางหรือวิธีปฏิบัติที่สามารถ แก้ไขปัญหาหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงในทาง ที่ดีขึ้น 2. เผยแพร่แนวทางหรือวิธีปฏิบัตินั้น 3. แลกเปลี่ยนความสำเร็จระหว่างชุมชน 4. สร้างชุดความรู้
เทคนิค/วิธีการที่นำไปใช้ในการเผยแพร่และต่อยอดความรู้ เทคนิคการเล่าเรื่อง (Story telling) การจัดเก็บความรู้และวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ในรูปของเอกสาร การจัดเก็บความรู้และวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) แบบอิเล็กทรอนิกส์
- กลุ่มผู้ประเมิน 8 กลุ่ม (4 กลุ่ม) ใบงานที่ 1 ถอดบทเรียนการทดลองใช้คู่มือฯ ของกลุ่มผู้ประเมิน และสถานศึกษาที่รับการประเมิน(โดยใช้เทคนิค Story telling) - กลุ่มผู้ประเมิน 8 กลุ่ม (4 กลุ่ม) - กลุ่มผู้รับการประเมิน 24 แห่ง (4 กลุ่ม)
หรือแนวทางการปรับปรุงในประเด็น “วิธีการประเมิน” ใบงานที่ 2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อค้นหาปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง ข้อดี และแนวทางแก้ไขปัญหา หรือแนวทางการปรับปรุงในประเด็น “วิธีการประเมิน”
ในประเด็น “ประเด็นการประเมินและตัวชี้วัด” ใบงานที่ 3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อค้นหาปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง ข้อดี และแนวทางแก้ไขปัญหาหรือแนวทางการปรับปรุง ในประเด็น “ประเด็นการประเมินและตัวชี้วัด”
ใบงานที่ 4 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อค้นหาปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง ข้อดี และแนวทางแก้ไขปัญหาหรือแนวทางการปรับปรุงในประเด็น “คู่มือคัดเลือกฯ”
ใบงานที่ 5 วางแผนการปรับปรุงคู่มือฯและแนวปฏิบัติในการคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบฯ สำหรับกิจกรรมที่ 2