บทที่ 2 การจัดการเงินทุนขั้นแรกของธุรกิจขนาดย่อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Tunt Chomchuen University of Chiangrai
Advertisements

ความสำคัญของการบริหารการเงิน
Chapter XIII Wholesaling
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
บทที่ 1 เป้าหมายและหน้าที่ในการบริหารการเงินเบื้องต้น.
Financial Management.
ภาคผนวก - การบริหารความเสี่ยง
บริการทางการเงินของ ธสน.
วิชา การเป็นผู้ประกอบการและการลงทุนทางธุรกิจ
วิชา การเป็นผู้ประกอบการและการลงทุนทางธุรกิจ
วิชา การเป็นผู้ประกอบการและการลงทุนทางธุรกิจ
การสร้างผู้ประกอบยุคใหม่ (Building Entrepreneur in New Era)
© The McGraw-Hill Companies, Inc., 2003 McGraw-Hill/Irwin Slide 2-1 BASIC FINANCIAL STATEMENTS Chapter 3.
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
© The McGraw-Hill Companies, Inc., 2003 McGraw-Hill/Irwin Slide 2-1 งบการเงิน (FINANCIAL STATEMENTS ) Chapter 3.
Financial Planning and Forecasting
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
งบการเงิน (FINANCIAL STATEMENTS )
ภาพรวมของการบัญชี (OVERVIEW OF ACCOUNTING)
แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์
สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี จำกัด
การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
Private Equity มิตรแท้ของเจ้าของกิจการ?
กลยุทธ์สร้างความแข็งแกร่งทางการเงินหลังเกษียณ สำหรับข้าราชการไทย
บทที่ 3 การตัดสินใจ ประเทศไทย - เศรษฐกิจ - การเมือง Google
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
วิชาการเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN 1103
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
ศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน ประชุมคณะทำงานพหุภาคี ครั้งที่ 1
A.Petcharee Sirikijjakajorn
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
SERVICE MARKETING พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
หลักการและแนวคิดในการเขียนโครงการ เพื่อการพัฒนานิสิต
แนวทางการสร้าง Innovation Ecosystem ในมหาวิทยาลัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
การสัมมนาวิชาการ ปขมท.
ทักท้วงจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
เอกสารประกอบคำบรรยาย เรื่อง
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
สิงหาคม 2558.
เนื้อหา บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเงินธุรกิจ
การจัดการช่องทางการจัดจำหน่าย และการกระจายสินค้า
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน
การบริหารการผลิต.
ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
การจัดการเงินสด และหลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
แนวคิดและตัวอย่างวิธีการวิเคราะห์ เพื่อการถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า
ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ และ หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่ สัปดาห์ที่ 3 1.
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บรรยายสรุป ประมวลความรู้วิชาการจัดการการเงิน Advanced Program อ. ดร
บทที่ 3 พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 การจัดการเงินทุนขั้นแรกของธุรกิจขนาดย่อม

หน้าที่ของผู้จัดการทางการเงิน 1. การพยากรณ์และการวางแผน (Forecasting and Planning) 1.1 การพยากรณ์และวางแผนการเงินระยะสั้น จะเกี่ยวข้องกับการตรวจสอบสถานภาพทางการเงินของธุรกิจ กล่าวคือเป็นการคาดการณ์กระแสเงินสดรับและเงินสดจ่ายของธุรกิจว่าเป็นอย่างไร ในแต่ละเดือนธุรกิจมีเงินสดเกินหรือเงินสดขาดมือจำนวนเท่าใด 1.2 การพยากรณ์และวางแผนการเงินระยะยาว จะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจลงทุนระยะยาว

หน้าที่ของผู้จัดการทางการเงิน 2. การตัดสินใจลงทุนและการจัดหาเงินทุน (Investment and Financing Decisions) 2.1 การตัดสินใจลงทุน จะเกี่ยวข้องกับการสร้างความมั่งคั่งให้แก่ ผู้ถือหุ้น 2.2 การตัดสินใจในการจัดหาเงินทุน ต้องพิจารณาสัดส่วนของเงินทุนจากหนี้สิน (Debt Financing) และส่วนของเจ้าของ (equity financing) ให้เหมาะสม

หน้าที่ของผู้จัดการทางการเงิน 3. การประสานงานและการควบคุม (Coordination and Control) 4. การเป็นตัวแทนขององค์กรเพื่อทำการติดต่อกับตลาดการเงิน (Dealing with the Financial Markets) 4.1 ตลาดเงิน (Money Market) การระดมเงินทุนระยะสั้นที่มีอายุ การชำระคืนไม่เกิน 1 ปี 4.2 ตลาดทุน (Capital Market) การระดมเงินทุนระยะยาวที่มีอายุการชำระคืนตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป

หน้าที่ของผู้จัดการทางการเงิน 5. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) 5.1 ความเสี่ยงที่เป็นระบบ (Systematic Risk) เป็นความเสี่ยงที่เกิดจากภายนอกกิจการจะมีผลกระทบต่อสินทรัพย์เกือบทั้งหมดที่มีอยู่ในระบบเศรษฐกิจไม่มากก็น้อย 5.2 ความเสี่ยงที่ไม่เป็นระบบ (Unsystematic Risk) เป็นความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายในของกิจการที่มีผลกระทบต่อสินทรัพย์เฉพาะรายเท่านั้น เช่น ความเสี่ยงเรื่องสภาพคล่องขององค์กร เป็นต้น

หน้าที่ของผู้จัดการทางการเงิน 6. การตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายเงินปันผล (Dividend Decision) อัตราการจ่ายเงินปันผลนี้จะเป็นตัวกำหนดกำไรสะสมของธุรกิจ

เป้าหมายทางการเงินของผู้จัดการทางการเงิน 1. กำไรสูงสุด (Profit Maximization) เป็นเป้าหมายทางการเงินระยะสั้น 2. การสร้างความมั่งคั่งสูงสุด (Wealth Maximization) เป็นเป้าหมายทางการเงินระยะยาว 3. ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) การดำเนินธุรกิจในปัจจุบันนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องคำนึงถึงกลุ่มบุคคลในสังคม (stakeholder)

รูปแบบของการประกอบกิจการ 1. กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole Proprietorship) ผู้ก่อตั้งเรียกว่า “เจ้าของกิจการ” ข้อดี 1. ง่ายต่อการจัดตั้ง ใช้เงินลงทุนต่ำ 2. การตัดสินใจในการบริหารจัดการสะดวกและรวดเร็ว เพราะขึ้นอยู่กับเจ้าของกิจการเพียงคนเดียว 3. กรณีที่มีกำไร เจ้าของกิจการจะได้รับเพียงคนเดียว 4. การเลิกกิจการทำได้ง่าย 5. เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จึงทำให้กิจการเสียภาษีต่ำ

รูปแบบของการประกอบกิจการ 1. กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole Proprietorship) ข้อเสีย 1. มีเงินทุนจำกัด 2. การขยายกิจการทำได้ยาก 3. เจ้าของกิจการรับผิดชอบต่อภาระหนี้สินแบบไม่จำกัดจำนวน 4. ความรู้ความสามารถในการบริหารงานจำกัดเพียงเจ้าของกิจการคนเดียว 5. ขาดความต่อเนื่องของธุรกิจหากเจ้าของกิจการเสียชีวิต

รูปแบบของการประกอบกิจการ 2. ห้างหุ้นส่วน (Partnership) การที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปตกลงร่วมกันลงทุนเพื่อประสงค์ที่จะแบ่งปันผลกำไรที่ได้จากการดำเนินธุรกิจ ผู้ลงทุนเรียกว่า “ผู้เป็นหุ้นส่วน” 2.1 ห้างหุ้นส่วนสามัญ (General Partnership) ผู้เป็นหุ้นส่วนของห้างหุ้นส่วนสามัญมีอำนาจในการบริหารกิจการของห้างทุกคน และจะต้องรับผิดชอบต่อภาระหนี้สินของห้างแบบไม่จำกัดจำนวน

รูปแบบของการประกอบกิจการ 2.2 ห้างหุ้นส่วนจำกัด (Limited Partnership) ผู้เป็นหุ้นส่วน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ผู้เป็นหุ้นส่วนแบบจำกัดความรับผิด และผู้เป็นหุ้นส่วนแบบไม่จำกัดความรับผิด

รูปแบบของการประกอบกิจการ 2. ห้างหุ้นส่วน (Partnership) ข้อดี 1. จัดหาเงินทุนได้มากกว่ากิจการเจ้าของคนเดียว 2. มีทักษะในการบริหารจัดการธุรกิจมากกว่า 3. มีอำนาจในการกู้ยืม ข้อเสีย 1. เกิดความล่าช้าในการตัดสินใจ 2. กรณีผู้เป็นหุ้นส่วนแบบไม่จำกัดความรับผิดจะมีความเสี่ยงสูง 3. ขาดความต่อเนื่องของการบริหารงาน ถ้าหุ้นเป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งเสียชีวิต หรือถอนตัว

รูปแบบของการประกอบกิจการ 3. บริษัท (Company/Corporation) การจัดตั้งกิจการที่มีวิธีการระดมเงินทุนจากการแบ่งทุนออกเป็นหุ้น มูลค่าหุ้นละเท่า ๆ กัน ผู้ลงทุนเรียกว่า “ผู้ถือหุ้น” 3.1 บริษัทจำกัด (Limited Company) เป็นรูปแบบกิจการที่มีผู้ร่วมลงทุนตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป โดยมีผู้ถือหุ้นไม่ถึง 100 คน 3.2 บริษัทมหาชนจำกัด (Public Company) เป็นรูปแบบกิจการที่มีผู้ร่วมลงทุนตั้งแต่ 15 คนขึ้นไป และมีผู้ถือหุ้นตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป

รูปแบบของการประกอบกิจการ 3. บริษัท (Company/Corporation) ข้อดี 1. สามารถระดมเงินทุนได้ง่าย 2. สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน 3. ผู้ลงทุนจะรับผิดชอบต่อหนี้สินจำกัดเท่ากับเงินที่ลงทุนในหุ้น 4. การเลิกลงทุนทำได้ง่าย โดยการขายหรือโอนหุ้น 5. ขยายกิจการทำได้ง่าย เพราะสามารถเข้าถึงตลาดทุน

รูปแบบของการประกอบกิจการ 3. บริษัท (Company/Corporation) ข้อเสีย 1. การก่อตั้งทำได้ยากและเสียค่าใช้จ่ายสูงกว่าธุรกิจรูปแบบอื่น เพราะต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล 2. เงินทุนค่อนข้างสูง 3. ต้องปฏิบัติตามข้อบังคับของกฎหมายอย่างเคร่งครัด 4. เสียภาษีซ้ำซ้อน 5. ต้องเปิดเผยข้อมูลให้สาธารณชนทราบ

ลักษณะของธุรกิจขนาดย่อม ธุรกิจขนาดย่อม หมายถึง ธุรกิจที่มีลักษณะการบริหารงานอย่างอิสระ ผู้บริหารมักเป็นเจ้าของกิจการ การจัดหาเงินมาลงทุนทำธุรกิจเป็นเงินทุนส่วนตัว และการดำเนินงานจะทำภายในท้องถิ่น มีจำนวนพนักงาน เงินลงทุน สินทรัพย์ และยอดขายน้อยกว่าธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกัน

ลักษณะของธุรกิจขนาดย่อม ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ. 2543 ได้กำหนดลักษณะของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยมีหลักเกณฑ์ดังนี้

ลักษณะของธุรกิจขนาดย่อม 1. ปริมาณยอดขายมีน้อย 2. มีฝีมือและประสบการณ์ของตนเองในการบริการลูกค้า 3. มีการบริการในลักษณะเป็นการส่วนตัว 4. มีความสะดวก 5. สามารถปรับตัวเข้ากับความต้องการของท้องถิ่น 6. มีแรงจูงใจสูง 7. มีความคล่องตัวในการจัดการ 8. ต้นทุนในการดำเนินงานต่ำ

ความสำคัญของธุรกิจขนาดย่อม 1. บทบาทในการสร้างงานใหม่ ธุรกิจขนาดย่อมมีส่วนสำคัญในการทำให้บุคคลนำความคิดใหม่ ๆ และผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความเป็นอยู่ในสังคม 2. บทบาทในการสร้างนวัตกรรม หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ ธุรกิจขนาดย่อมจะมีจุดเริ่มต้นจากงานวิจัยในห้องทดลองเพื่อให้ได้รับการยอมรับ

ความสำคัญของธุรกิจขนาดย่อม 3. บทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจในส่วนภูมิภาค ธุรกิจขนาดย่อมของประเทศไทยจะเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมในท้องถิ่น เป็นอุตสาหกรรมที่ผลิตสินค้าที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของท้องถิ่น 4. บทบาทในการกระตุ้นให้เกิดการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การมีธุรกิจขนาดย่อมเข้ามาแข่งขันด้วยจะทำให้การแข่งขันด้านราคาลดลงตลอดจนมีการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มมาตรฐานของสินค้า

ความสำคัญของธุรกิจขนาดย่อม 5. บทบาทในการช่วยเหลือธุรกิจขนาดใหญ่ให้ผลิตสินค้าและบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น หน้าที่บางอย่างธุรกิจขนาดย่อมมักจะทำได้ดีกว่าธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น การจัดจำหน่าย การขายปัจจัยการผลิต การบริการ เป็นต้น

ความสำคัญของธุรกิจขนาดย่อม 6. บทบาทในการกระจายการพัฒนาประเทศ ธุรกิจขนาดย่อมมีการตั้งกระจัดกระจายกันไปตามชุมชนต่าง ๆ 7. บทบาทในการเพิ่มการระดมทุน ธุรกิจขนาดย่อมเป็นการรวบรวมเงินทุนที่เป็นของผู้ประกอบการและญาติพี่น้องมาก่อให้เกิดประโยชน์ในทางธุรกิจ

ความสำคัญของธุรกิจขนาดย่อม 8. บทบาทในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม ธุรกิจขนาดย่อมช่วยให้เกิดการกระจายรายได้จากกลุ่มผู้ประกอบธุรกิจไปสู่กลุ่มคนต่าง ๆ 9. บทบาทในการเป็นจุดเริ่มต้นของธุรกิจขนาดใหญ่ ความเจริญก้าวหน้าของธุรกิจขนาดย่อมทำให้ธุรกิจมั่นคง

ประเภทของธุรกิจขนาดย่อม 1. การบริการ (services) เป็นธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่มีจำนวนมาก ได้รับความนิยมในการลงทุนและเติบโตเร็วที่สุด เนื่องจากไม่ต้องใช้ทรัพยากรการดำเนินงานที่ซับซ้อน จัดตั้งได้ง่าย 2. การค้าปลีก (retailing) เป็นการขายผลิตภัณฑ์โดยบุคคลอื่นให้แก่ผู้บริโภค (Consumer) การค้าปลีกเป็นธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่นิยมทำกัน

ประเภทของธุรกิจขนาดย่อม 3. การค้าส่ง (wholesaling) เป็นธุรกิจที่ซื้อผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตแล้ว ขายต่อให้กับผู้ค้าปลีกเพื่อทำการขายให้กับผู้บริโภคต่อไป 4. การผลิต (manufacturing) ถ้าเปรียบเทียบกับธุรกิจทั้ง 3 ประเภทข้างต้น การผลิตนับเป็นธุรกิจที่ยากสำหรับธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมในการแข่งขัน

การจัดการเงินทุนขั้นแรกในการประกอบธุรกิจ การจัดหาเงินทุนอย่างเหมาะสมจะช่วยให้ธุรกิจมีต้นทุนทางการเงินต่ำ และทำให้เกิดสภาพคล่อง 1) จะหาแหล่งเงินทุนจากที่ไหน (Where) 2) จำนวนเท่าไหร่ (How) 3) จะต้องใช้เงินทุนเมื่อไหร่ (When)

การจัดการเงินทุนขั้นแรกในการประกอบธุรกิจ ความต้องการเงินทุนในช่วงเวลาต่าง ๆ 1. ความต้องการเงินทุนเมื่อเริ่มดำเนินธุรกิจ เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการก่อตั้งกิจการ ค่าใช้จ่ายในการเริ่มดำเนินการนี้จะเกิดขึ้นเมื่อเริ่มธุรกิจเพียงครั้งเดียว ผู้จัดการทางการเงินจึงควรสำรองเงินสดหมุนเวียนให้เกิดความคล่องตัวมากขึ้น

การจัดการเงินทุนขั้นแรกในการประกอบธุรกิจ ความต้องการเงินทุนในช่วงเวลาต่าง ๆ 2. ความต้องการเงินทุนในการดำเนินงาน 2.1 ช่วงที่ธุรกิจกำลังเติบโต ธุรกิจจึงต้องใช้เงินทุนเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากต้องมีการเพิ่มยอดขาย การขยายฐานลูกค้าใหม่ การจ้างพนักงานเพิ่ม การเพิ่มจำนวนสินค้าคงคลัง 2.2 ช่วงที่สภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า ทำให้ธุรกิจขาดสภาพคล่อง

การจัดการเงินทุนขั้นแรกในการประกอบธุรกิจ ความต้องการเงินทุนในช่วงเวลาต่าง ๆ 3. ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงกิจการ เป็นช่วงที่ธุรกิจเติบโตเต็มที่ มักจะมีการควบรวมกิจการ ซื้อกิจการ ปรับโครงสร้างองค์การ และการระดมทุนในตลาดทุน

การจัดการเงินทุนขั้นแรกในการประกอบธุรกิจ การจัดหาเงินทุน 1. เงินสะสมส่วนบุคคล (Owner’s Money) ถือเป็นแหล่งเงินทุนที่สำคัญ คือ ไม่มีภาระดอกเบี้ยเหมือนการกู้ยืม 2. เงินทุนจากครอบครัวและเพื่อน (Family & Friends) ถือเป็นแหล่งเงินทุนที่สำคัญในระยะเริ่มต้นกิจการ และกรณีที่มีความต้องการเงินทุนอย่างเร่งด่วน ข้อเสียคือ เมื่อจำนวนหุ้นส่วนมากขึ้น การตัดสินใจจะยุ่งยาก

การจัดการเงินทุนขั้นแรกในการประกอบธุรกิจ การจัดหาเงินทุน 3. ตราสารพาณิชย์ (Commercial Paper) เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่มีต้นทุนตํ่ากว่าการกู้ยืมเงินระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 4. เงินทุนจากการกู้ยืม (Loans) การกู้ยืมก่อให้เกิดภาระผูกพันในเรื่องของดอกเบี้ย 5. เงินร่วมลงทุน (Venture Capital) ไม่มีวัตถุประสงค์ครอบงำกิจการ เพียงแต่เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาสินค้าและบริการ โดยอาจเข้าร่วมบริหาร ให้คำปรึกษาหรือช่วยการจัดการโดยใช้ประสบการณ์และช่องทางธุรกิจที่มีอยู่

การจัดการเงินทุนขั้นแรกในการประกอบธุรกิจ การจัดหาเงินทุน 5. เงินร่วมลงทุน (Venture Capital) เป็นธุรกิจที่จัดตั้งขึ้นเพื่อลงทุนระยะยาวในธุรกิจอื่นในรูปแบบของการเข้าร่วมลงทุน ไม่มีวัตถุประสงค์ครอบงำกิจการ เพียงแต่เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาสินค้าและบริการ โดยอาจเข้าร่วมบริหาร ให้คำปรึกษาหรือช่วยการจัดการโดยใช้ประสบการณ์และช่องทางธุรกิจที่มีอยู่

การจัดการเงินทุนขั้นแรกในการประกอบธุรกิจ การจัดหาเงินทุน 5. เงินร่วมลงทุน (Venture Capital) 1. Seed Investing เป็นการร่วมลงทุนในธุรกิจที่ยังไม่ได้ก่อตั้ง 2. Early Stage Investing เป็นการร่วมลงทุนในบริษัทที่เพิ่งเริ่มกิจการ แต่มีศักยภาพในการเติบโตสูง 3. Expansion Stage Financing เป็นการร่วมลงทุนในบริษัทที่เริ่มมีความพร้อมสำหรับการขยายกิจการ แต่ขาดเงินทุน 4. Later Stage Financing เป็นการร่วมลงทุนในกิจการที่เติบโตแล้ว แต่ต้องการเงินทุนหรือคำปรึกษาการลงทุนเพื่อเตรียมพร้อมก่อนเข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์