Supply Chain Logistics

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การตลาดในธุรกิจยุคปัจจุบัน (Marketing in the Present Business)
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
บทที่ 11 วงจรรายจ่าย.
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
ความเสี่ยงเรื่องการตลาด
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Supply Chain Logistics คือ การบริหาร Logistics ที่มีการขยายระบบไปสู่ผู้บริหาร, Suppliers และลูกค้า Logistics คือ กระบวนการที่เกี่ยวกับการเคลื่อนตัวของวัตถุดิบส่ง ไปสู่องค์กรตลอดจนการทำงานที่ส่งไปถึงลูกค้าให้เกิด ประโยชน์และลงตัวมากที่สุด

Logistics จำแนกแจกจ่ายสินค้าได้ 2 จุด คือ จำแนกแจกจ่ายสินค้าได้ 2 จุด คือ Inbound Logistics : เป็นการบริหารวัตถุดิบ นำวัตถุดิบป้อน เข้าโรงงานให้ทันตามกำหนดและไม่มีวัตถุดิบคงเหลือมากจน เกินไป 2. Outbound Logistics : เป็นการกระจายสินค้าจากโรงงานไป ยังผู้บริโภค มีสินค้าเพียงพอตอบสนองความต้องการ ไม่ขาด สินค้าและไม่มีสินค้ามากจนเกิดเป็นต้นทุนจม

กระบวนการ Logistics Material Management ( Inbound Integration ) Physical Distribution Management ( Outbound Integration ) Retailers/ Customers Consumers/ End Users Suppliers Manufacturers Distributors

กิจกรรมสนับสนุน ผู้บริโภค แหล่งวัตถุดิบ โรงงานผลิต กิจกรรมสนับสนุน การขนส่ง คลังสินค้า การบริหารสินค้าคงคลัง กิจกรรมสนับสนุน การขนส่ง คลังสินค้า การบริหารสินค้าคงคลัง

กิจกรรมสนับสนุน คือ กิจกรรมที่ช่วยให้วัตถุดิบเข้าถึงโรงงานเพื่อผลิต คือ กิจกรรมที่ช่วยให้วัตถุดิบเข้าถึงโรงงานเพื่อผลิต เป็นสินค้าสำเร็จรูปหรือกึ่งสำเร็จรูป และช่วยให้สินค้าสำเร็จรูป ถึงมือผู้บริโภคได้ในเวลาที่เขาต้องการ แบ่งออกเป็น 1. การขนส่ง 2. คลังสินค้า 3. การบริหารสินค้าคงคลัง

Supply Chain Management คือ กลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจที่มีลักษณะดังนี้ เป็นการร่วมมือในการทำการค้าระหว่างกันของคู่ค้าทางธุรกิจ ให้ทุกส่วนเกิดความใกล้ชิดและมีสัมพันธ์ที่ดี มีการวางแผนและการประสานงานที่ดี ควบคุมให้มีต้นทุนต่ำที่สุดและสูญเสียเวลาน้อยที่สุด มีการประมาณความต้องการและความคาดหวังของลูกค้าควบคู่กันไป ตัดกระบวนการที่ไม่สามารถสร้าง Value Added ออกไป

เป้าหมายสูงสุดของ Supply Chain การทำกำไรสูงสุดโดยการเพิ่มประสิทธิภาพของการแข่งขัน ทั้งระบบสามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินงานในทุกขั้นตอนได้รวดเร็วที่สุด ทำให้สินค้าคงเหลือในระบบต่ำที่สุด สามารถบริหารต้นทุนให้ต่ำที่สุดได้

องค์ประกอบของ Supply Chain การสั่งสินค้า 1.1 เน้นให้เกิดการลดต้นทุนและได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน 1.2 มีการวางแผนความต้องการใช้วัตถุดิบร่วมกัน การผลิต 2.1 ผลิตให้ได้ตามจำนวนที่ต้องการและตรงเวลา 2.2 มีคุณภาพเหมาะสมและเกิดการสูญเสียน้อยที่สุด 2.3 เกิดการประหยัดต้นทุนสูงสุดในทุกด้าน การจัดจำหน่าย 3.1 เน้นทางด้านการขนส่งและคลังสินค้า 3.2 Demand Management

หลักการบริหาร Supply Chain ถ่ายทอดความต้องการของลูกค้า การรวมตัวกับผู้จัดหาสินค้าหรือวัตถุดิบ การปรับปรุงกระบวนการบริหารงานให้ดีขึ้น การบริหารตามประเภทสินค้า ปรับโครงสร้างพื้นฐานรองรับ

ถ่ายทอดความต้องการของลูกค้า การเติมสินค้าอย่างต่อเนื่อง (CRP) การผลิตที่สอดคล้องกัน การบริหารการส่งเสริมการขาย

การรวมตัวกับผู้จัดหาสินค้าหรือวัตถุดิบ พัฒนาสินค้าร่วมกัน ปรับสินค้าเดิมให้เหมาะกับผู้บริโภค การบริหารสินค้าคงคลังโดยผู้จัดหา การใช้ระบบส่งข้อมูลและเงินผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์

การปรับปรุงกระบวนการบริหารงานให้ดีขึ้น จุดกระจายสินค้า เตรียมสินค้าพร้อมส่ง วางระบบขนส่งสินค้า การปรับปรุงระบบด้านอื่น ๆ

การบริหารตามประเภทสินค้า เป็นการบริหารในรูปแบบ Multifunctional team เน้นการร่วมมือกันทำงานทางด้าน การวางกลยุทธ์ การวัดผลการปฏิบัติงาน การติดตามงานข้ามสายงาน

ปรับโครงสร้างพื้นฐานให้รองรับ การจัดการรวมศูนย์ ใช้ผู้เชี่ยวชาญภายนอก

ลักษณะของการจัดซื้อ การจัดซื้อแบ่งเป็น 3 ลักษณะ การจัดซื้อเพื่อการขายต่อ การจัดซื้อเพื่อการแปรสภาพ การจัดซื้อเพื่อการบริโภคโดยตรง

วิวัฒนาการของการจัดซื้อ ผู้จัดการ แผนกขาย แผนกการเงิน แผนกผลิต งานขาย งานส่งเสริม งานติดตั้ง งานตามเก็บหนี้สิน งานจัดซื้ออุปกรณ์ส่งเสริม งานลงบัญชี งานควบคุมการับ จ่าย งานหาแหล่งเงินทุน งานจัดทำงบประมาณ งานจัดซื้อวัสดุสิ้นเปลือง งานผลิต งานจัดซื้อวัตถุดิบ งานออกแบบสินค้า งานกำจัดของเสีย งานซ่อมแซมบำรุงรักษา

รูปแบบโครงสร้างองค์กรในปัจจุบัน ผู้จัดการ แผนกผลิต แผนกตลาด แผนกบัญชี แผนกบุคคล แผนกวิจัยและวางแผน แผนกจัดซื้อ แผนกการเงิน

การเจริญเติบโตของงานการจัดซื้อ ด้านการจัดหน่วยงาน ด้านงานและบุคคลที่ทำหน้าที่

บทบาทและความสำคัญของการจัดซื้อ การจัดซื้อเป็น งานหลัก งานหนึ่งของธุรกิจ การจัดซื้อเป็น งานขั้นพื้นฐาน ของระบบการผลิต การจัดซื้อเป็น งานที่ต้องรับผิดชอบในการจัดหา ของใช้ทั้งหมดของธุรกิจ การจัดซื้อที่มีประสิทธิภาพ ช่วยสร้างกำไร ให้กิจการ การจัดซื้อช่วย พัฒนาระบบเศรษฐสังคมที่ดี การจัดซื้อเป็น หน่วยงานช่วยทำหน้าที่ประสานงาน ให้ฝ่ายบริหาร การจัดซื้อช่วย สร้างชื่อเสียง ภาพพจน์ ค่านิยมที่ดี ให้เกิดขึ้นต่อกิจการ

ความหมายการจัดซื้อ หมายถึง การกระทำหน้าที่การจัดซื้อเพื่อให้ได้มาซึ่ง หมายถึง การกระทำหน้าที่การจัดซื้อเพื่อให้ได้มาซึ่ง วัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ของใช้ต่าง ๆ ตามที่กิจการต้องการใช้ โดยมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ในจำนวนที่ถูกต้อง ภายในจังหวะ เวลาที่ถูกต้อง ในราคาที่ถูกต้อง จากแหล่งผู้ขายที่ถูกต้อง การนำส่งไปยังสถานที่ที่ถูกต้อง

วัตถุประสงค์ของการจัดซื้อ คือ จุดมุ่งหมายหรือเป้าหมายที่ต้องการ 1. เพื่อสร้างสรรค์กำไรและลดต้นทุน 2. เพื่อให้บริการด้านความสะดวกรวดเร็วสำหรับ การดำเนินงานภายในกิจการ เพื่อให้คำแนะนำและให้ความช่วยเหลือแก่ฝ่ายบริหาร 4. เพื่อสร้างชื่อเสียง และภาพพจน์ที่ดีงามให้แก่องค์การธุรกิจ

นโยบายการจัดซื้อ คือ แนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ นโยบาย คือ การจัดซื้อให้ได้ดีที่สุด ( Best Buy ) การจัดซื้อให้ได้ดีที่สุด หมายถึง การจัดซื้อวัสดุให้ได้คุณสมบัติ ที่ถูกต้อง ภายในจังหวะเวลาที่ถูกต้อง ในราคาที่ถูกต้อง จาก แหล่งขายที่ถูกต้อง โดยการนำส่งไปยังสถานที่ที่ถูกต้อง

หลักการของการกำหนดนโยบาย การกำหนดระเบียบแบบแผนการปฏิบัติงานเพื่อ เป็นแนวปฏิบัติเดียวกัน การกำหนดความยืดหยุ่นเพื่อให้เกิดความคล่องตัว ในการปฏิบัติงาน

การกำหนดความยืดหยุ่น ประโยชน์ที่เกิดจากความยืดหยุ่น ทำให้งานดำเนินไปอย่างต่อเนื่องไม่หยุดชะงัก เป็นการฝึกฝนบุคลากรให้มีบทบาทของผู้บริหาร เป็นการสร้างความภาคภูมิใจในการปฏิบัติงาน เป็นการแบ่งเบาภาระหน้าที่ของผู้บริหาร

ข้อยกเว้นในนโยบายทางด้านงบประมาณ การกำหนดงบประมาณให้แผนกต่าง ๆ จัดซื้อได้เองโดยอิสระ เนื่องจากมีเหตุผลดังนี้ 1. วัสดุมีรายละเอียดมาก 2. เป็นการจัดซื้อแบบเป็นครั้งคราวในโครงการพิเศษ 3. จัดซื้อจากแหล่งผู้ขายภายในประเทศ