สหภาพโซเวียต
สารบัญ การปฏิวัติรัสเซีย [การกำเนิดสหภาพโซเวียต] จุดกำเนิดสหภาพโซเวียต 1 หน้า อ จุดกำเนิดสหภาพโซเวียต 1 การปฏิวัติรัสเซีย คือภาพรวมของระลอกการปฏิวัติในรัสเซียช่วงปี พ.ศ. 2460 ซึ่งทำลายระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของพระเจ้าซาร์และนำไปสู่การก่อตั้งสหภาพโซเวียต พระเจ้าซาร์ถูกถอดพระอิสริยยศและแทนที่ด้วยรัฐบาลเฉพาะกาลในการปฏิวัติครั้งแรกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2460 แต่ในการปฏิวัติครั้งที่สองในเดือนตุลาคม รัฐบาลเฉพาะกาลถูกโค้นล้มและแทนที่ด้วยรัฐบาลพรรคบอลเซวิค การเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่2 2 การถูกโจมตีครั้งแรก 3 การรบที่สตาลินกราด 4 ยุทรการที่เบอร์ลิน 5 การล่มสลายของสหภาพโซเวียต 6 รวมปืนสมัยสหภาพโซเวียต 7 หน้าแรก
แม้ว่าเหตุการณ์หลักทางประวัติศาสตร์ส่วนมาก สงครามกลางเมืองได้อุบัติขึ้นระหว่าง กองทัพแดง (ฝ่ายบอลเชวิก) กับ กองทัพขาว (ฝ่ายต่อต้านบอลเชวิก) ซึ่งดำเนินไปหลายปี แต่ในท้ายที่สุดแล้วกองทัพแดงของฝ่ายบอลเชวิกก็มีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือฝ่ายกองทัพขาว และการสิ้นสุดลงของระลอกการปฏิวัตินี้เองที่ปูทางรัสเซียให้เขาสู่ยุคของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต แม้ว่าเหตุการณ์หลักทางประวัติศาสตร์ส่วนมาก จะเกิดขึ้นในกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กและกรุงมอสโก แต่ก็ยังคงสามารถพบเห็นการเคลื่อนไหวต่างๆ ตลอดช่วงของการปฏิวัติได้ในแถบชนบทและหมู่บ้านทั่วประเทศ รวมไปถึงชนกลุ่มน้อยและบริเวณทุรกันดาร ที่ซึ่งชาวนาและทาสเข้ายึดที่ดินทำกินจากชนชั้นขุนนางแล้วแจกจ่ายปันส่วนให้แก่ตนเองใหม่ หน้าแรก
นับตั้งแต่สตาลินได้ถูกแต่งตั้งเป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ในปี ค. ศ นับตั้งแต่สตาลินได้ถูกแต่งตั้งเป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ในปี ค.ศ. 1922 สตาลินได้ดำเนินนโยบายแบบรวมอำนาจ แข็งกร้าว และรุนแรง เขาได้ริเริ่มแผนปฏิรูป 5 ปี เพื่อสร้างระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม แผนดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความแข็งแกร่งทางการทหารและเศรษฐกิจ โดยเน้นการพึ่งตนเองเป็นหลัก นโยบายดังกล่าวได้ทำให้เกิดการก่อตั้งนาขึ้น ส่งผลให้ชาวนาผู้ถือครองที่ดินอยู่ก่อนเกิดความไม่พอใจ สตาลินจึงสร้างค่ายกักกันขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ในการคุมขังผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับเขา ตลอดการปกครอง ของสตาลินมีผู้คาดการณ์ว่ามีนักโทษเสียชีวิตในค่ายกักกันถึง 60 ล้านคน สตาลินได้ทำการกวาดล้างผู้ต่อต้านครั้งใหญ่ในช่วงกลางทศวรรษที่ 1930 ซึ่งบุคคลเหล่านั้นรวมถึงสมาชิกพรรคบอลเชวิคหลายๆคนซึ่งเคยร่วมกับเลนินในการทำการปฏิวัติรัสเซียปี ค.ศ. 1917 ด้วย ในปลายทศวรรษที่ 1930 สหภาพโซเวียตได้ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับนาซีเยอรมนีและในปีเดียวกันความล้มเหลวในการเจรจาให้ฟินแลนด์เลื่อนเขตแดนให้ห่างจากเมืองเซนต์ปีเตอร์เบิร์ก (เลนินกราดในสมัยนั้น) ออกไปอีก 25 กิโลเมตร ทำให้สหภาพโซเวียตได้ใช้กำลังบุกฟินแลนด์ซึ่งจบลงด้วยชัยชนะของสหภาพโซเวียตแถมต่อด้วยบุกโปแลนแล้วแบ่งดินแดนกับนาชีเยอรมัน หน้าแรก
ผลที่ตามมา ยุทธการบาร์บารอสซานั้นมาถึงจุดสรุปเมื่อกลุ่มกองทัพตอนกลางของนาซีเยอรมนีที่กำลังขาดแคลนเสบียงเนื่องจากโคลนหลังฤดูฝนในเดือนตุลาคม ถูกสั่งให้บุกรุดหน้าต่อไปยังมมอสโก จนกระทั่งกำลังทหารเยอรมันรุดหน้ามาถึงหน้าราชวังเครมลินในช่วงต้นเดือนธันวา (1941) เมื่อมาถึงตรงนั้น กองกำลังทหารเยอรมันทั้งหมดก็จำต้องหยุดลง เมื่อกำลังเสริมขนาดใหญ่ของสตาลินมาถึง จากไชบีเรีย พร้อมกับความสดใหม่ของทหารและการบำรุงรักษากำลังอย่างครบครัน และได้ทำการป้องกันมอสโกอย่างดุเดือดในศึกแห่งมอสโก ผลของการรบออกมาโดยฝ่ายโซเวียตเป็นผู้กรำชัยชนะอย่างเด็ดขาด และได้ทำการตีโต้กองกำลังเยอรมันกลับไปเมื่อฤดูหนาวมาถึง กองกำลังตอบโต้ของโซเวียตขนาดใหญ่ยักษ์ได้ถูกสั่งให้เข้าทำการโจมตีกลุ่มกองทัพตอนกลางของเยอรมัน ซึ่งไม่น่าแปลกใจเท่าไรนัก เนื่องจากกลุ่มกองทัพดังกล่าวนั้นวางกำลังอยู่ใกล้มอสโกมากที่สุด การป้องกันกรุงมอสโกได้สำเร็จ ทำให้เมืองนี้ได้รับการยกย่องให้เป็นวีรนครในเวลาต่อมา กองกำลังฝ่ายอักษะเปิดการโจมตีสหภาพโซเวียตในวันที่ 22 มิถุนายน เมื่อเวลา 4.45 น. มันยังเป็นเรื่องยากที่จะประมาณกองกำลังของแต่ละฝ่ายได้อย่างแม่นยำในช่วงต้นๆ ของการรบ เนื่องจากปริมาณกองกำลังเยอรมันส่วนใหญ่ยังรวมถึงกำลังเสริมที่ถูกกำหนดให้บุกจากทางทิศตะวันออกเข้ามา แต่ยังไม่ได้เปิดการโจมตี เช่นเดียวกันกับปัญหาหลายอย่างที่เกี่ยวกับการเปรียบเทียบสถิติทหารของทั้งสองฝ่าย แต่ถ้าจะประมาณและคาดคะเนแล้ว จำนวนที่ดูสมเหตุสมผลน่าจะเป็นทหารเยอรมันประมาณ 2.6 ล้านนายที่เข้าทำการรบในวันที่ 22 มิถุนายน โดยมีทหารโซเวียตประจำการตามเขตแดนทหารอยู่ในปริมาณที่ใกล้เคียงกัน ส่วนการจะเอาปริมาณกองกำลังของพันธมิตรของเยอรมนี มารวมด้วยคงจะยังไม่เกิดขึ้นจนกระทั่งยุทธการได้เริ่มขึ้นได้สักพักแล้ว แต่การทำให้ฝ่ายตรงข้ามประหลาดใจของเยอรมนีนั้นประสบความสำเร็จอย่างสมบูรณ์ โดยกองบัญชาการสามัญของสหภาพโซเวียตหรือสตาฟก้า (Stavka: Shtab vierhovnogo komandovania) ที่ได้รับรายงานว่ากองกำลังทหารเยอรมันกำลังเข้าประชิดชายแดนเพื่อจัดวางกำลังพล ในเวลา 00.30 น. และได้สั่งการเตือนทหารตามชายแดนว่าสงครามกำลังจะเกิดขึ้นในไม่ช้า แต่กลับไม่มีทหารสักหน่วยที่เข้าสถานะเตรียมพร้อมในเวลานั้น หน้าแรก
ยุทธการที่สตาลินกราด การโจมตีรัสเชีย ยุทธการที่สตาลินกราด การโจมตีรัสเชียนั้นใช้วิธีการโจมตีแบบสายฟ้าแลบทำให้ฝ่ายอักษะยึดพื้นที่ของรัสเชียได้ถึงวันละ80โดยมีรถถังอันแข็งแกร่งเมื่อกองทัพดำบุกเข้ามาถึงหน้าแหล่งน้ำมันที่เทือกเขาคอเคชัสฮิตเลอร์จึงเปลี่ยนแผนโดยแบ่งกองทัพครึ่งหนึ่งไปบุกสตาลินกราดยุทธการที่สตาลินกราดจึงได้เริ่มขึ้น ยุทธการที่สตาลินกราดได้เริ่มขึ้นโดยฮิตเลอร์ต้องการที่จะลบชื่อสตาลินออกจากแผนที่ยุโรปออกดังนั้นกองทัพดำจึงเพิ่งเล็งเมืองนี้มากโดยมีนายพลพอลรัสป็นผู้บัญชาการในยุทธการที่สตาลินกราดนี้แต่กองทัพแดงก็ยังมีจุอิสคอฟเป็นผู้บัณชาการเช่นกันโดยปี1939เยอรมันคิดจะใช้แผนการรบรูปคีมโอปล้อมเมืองแต่สตาลินกราดมีแม่น้ำโวลก้าผ่านหลังอยู้ดังนั้นแผนการรบรูปคีมจึงใช้ไม่ได้ดังนั้นนายพลพอลรัสจึงใช้เครื่องบินทิ้งระเบิดไปลงที่สตาลินกราดทำให้มีคนตายถึง44หมึ่นคนแต่นั้นทำให้สตาลินกราดมีแต่ชากปรักหักพังทำให้รถถังขับได้ไม่ดีทำให้เยอรมันถูกหทารรัสเชียยิงปืนจากด้านบนตึกที่พังทำให้เหล็กบางๆบนรถถังของเยรมันทำให้รถถังไม่ได้เก่งในสตาลินกราด หน้าแรก
นานพลรุอิสคอฟชอบในการเข้าร่วมสงครามที่สตาลินกราดโดยให้คำแนะนำแก่ทหารทำให้ทหารมีกำลังใจในการรบและแนะนำแนวทางรบเช่นโยนระเบิดเข้าไปก่อนจากนั้นก็ทำลายสิ่งที่เหลือด้วยปืนกลแล้วทำซ้ำๆไปมาทำให้ทหารรัสเชียแข็งแกร่งมากในระยะประชิดทำให้กองทัพดำกลัวมากในการอยู่ในตึกทำให้ในสตาลินกราดยึดกันหลายวันในการยึดแต่ละอาคารทำให้5สัปดาห์ยึดได้เพียงครึ่งเมืองทำให้นายพลพอลรัสกลัวว่าหน้าหนาวของรัสเชียจะเกิดขึ้นขณะนั้นกองทัพแดงได้ส่งนักชุ่มยิงเข้ามาทำให้มีทหารเยอรมันตายจำนวนมากกองทัพเยอรมันโดยมีแต่ความกลัว พอเดือนตุลากองทัพดำได้บุกไปถึง90เปอร์เชนต์ดังนั้นกองทัพแดงจึงได้ใช้คัตจูช่ายิงถล่มสตาลินกราดเสียงเวลายิงนั้นสร้างขวัญแก่เยอรมันมาก หน้าแรก
ยุทธการที่เบอร์ลิน เมื่อหน้าหนาวมาถึงทำให้รัสเชียได้โต้กลับดินแดนได้มากขณะนั้นกองทัพดำได้เน้นการยึดแม่น้ำโวลก้ามากจนลืมด้านข้างๆดังนั้นกองทัพแดงจึงได้ออกแนวรบรูปคีมกลับผ่านไป5วันสตาลินกราดและทหาร3แสนนายก็ถูกกองทัพแดงล้อมได้สำเร็จทำให้กองทัพดำที่อยู่ในสตาลินกราดโดนตัดสเบียงไปจนหมดทำให้กองทัพดำถูกต้อนไปจนหมก ทำให้นายพลพอลรัสได้ไปมอบตัวกับกองทัพแดงทำให้ยุทธการที่สตาลินกราดได้จบลงกองทัพแดงจึงได้ฉวยโอกาศบุกเยอรมันปฎิบัติการพายุฤดูหนาวได้เริ่มขึ้น เริ่มจากวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1945 กองทัพแดงเจาะแนวรบเยอรมันมาทางทิศตะวันตกไกลถึง 40 กิโลเมตรต่อวันผ่านปรัสเซียตะวันออกและหยุดชั่วคราวตรงเส้น 60 กิโลเมตรทางตะวันออกของกรุงเบอร์ลินตามแม่น้ำโอเดอร์ เมื่อการรุกเริ่มขึ้นอีกครั้ง สองแนวรบกองทัพของโซเวียตเข้าตีกรุงเบอร์ลินจากทางตะวันออกและใต้ ขณะที่แนวรบที่สามบุกกำลังเยอรมันซึ่งตั้งอยู่ทางเหนือของเบอร์ลิน ยุทธการในเบอร์ลินกินเวลาระหว่างวันที่ 20 เมษายน หน้าแรก
สงครามเย็น ถึงเช้าวันที่ 2 พฤษภาคมมีการเตรียมตั้งรับที่ชานกรุง เบอร์ลินครั้งแรกเมื่อวันที่ 20 มีนาคม เมื่อผู้บัญชาการกองทัพกลุ่ม สตูลาซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ พลเอก กอททาร์ด ไฮน์รีซี คาดเดาได้ถูกต้องว่าโซเวียตจะผลักดันข้ามแม่น้ำวิสตูลาเป็นหลักการต่อส็เบอร์ลินได้เริ่มขึ้นโดยที่ทหารรัสเชียได้โจมตีแบบระยะประชิดไปจนถึงใจลางเบอร์ลินโดยได้ยิงปืนใหญ่จนเบอร์ลินได้ย่อยยับแล้วกองทัพรัสเชียจึงได้ปักธงชาติเหนือกรุงเบอร์ลินเป็นการจบสงครามเยอรมันได้พ่ายแพ้ในสงครามแล้ว นักประวัติศาสตร์ยังไม่ตกลงกันทั้งหมดว่าสงครามเย็นคือช่วงใดกันแน่ แต่ส่วนใหญ่ถือ ค.ศ. 1947–1991 สงครามเย็นได้ชื่อว่า "เย็น" เพราะไม่มีการสู้รบขนาดใหญ่โดยตรงระหว่างสองฝ่าย แม้มีสงครามในภูมิภาคสำคัญ ๆ ที่เรียก สงครามตัวแทน ในประเทศเกาหลี เวียดนามและอัฟกานิสถาน หน้าแรก
สองประเทศมหาอำนาจไม่เคยประจัญในการต่อสู้ด้วยอาวุธเต็มขั้น แต่ต่างฝ่ายต่างสั่งสมอย่างหนักเตรียมรับสงครามโลกนิวเคลียร์แบบสุดตัวที่อาจเกิดขึ้น ต่างฝ่ายมีสิ่งกีดขวางนิวเคลียร์ซึ่งกีดขวางการโจมตีของอีกฝ่าย บนพื้นฐานว่าการโจมตีนั้นจะนำไปสู่การทำลายล้างฝ่ายโจมตีอย่างสิ้นซาก คือ ลัทธิอำนาจทำลายล้างซึ่งกันและกัน นอกเหนือจากการพัฒนาคลังนิวเคลียร์ของสองฝ่าย และการวางกำลังทหารตามแบบแล้ว การต่อสู้เพื่อครองความเป็นใหญ่ยังแสดงออกมาผ่านสงครามตัวแทนทั่วโลก การสงครามจิตวิทยา การโฆษณาชวนเชื่อและจารกรรม และการแข่งขันทางเทคโนโลยี ทั้งสองฝ่ายสนับสนุนก็ตาม สงครามเย็นแบ่งแยกพันธมิตรยามสงครามชั่วคราวเพื่อต่อกรกับนาซีเยอรมนี ซึ่งสหภาพโซเวียตรัสเชียและสหรัฐอเมริกาผงาดเป็นอภิมหาอำนาจโดยมีข้อแตกต่างทางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างลึกล้ำ คือ สหภาพโซเวียตเป็นรัฐลัทธิมากซ์–เลนินพรรคการเมืองเดียว และสหรัฐอเมริกาเป็นรัฐทุนนิยมที่มีการเลือกตั้งเสรีโดยทั่วไป กลุ่มเป็นกลางที่ประกาศตนกำเนิดขึ้นด้วยขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดซึ่งประเทศอียิปต์ อินเดีย อินโดนีเซียและยูโกสลาเวียก่อตั้ง กลุ่มแยกนี้ปฏิเสธการสมาคมกับทั้งกลุ่มตะวันตกและกลุ่ม หน้าแรก
การล่มสลายของสหภาพโซเวียต การล่มสลายของสหภาพโซเวียตเริ่มต้นโดยมิคาเอล กอรปาชอฟได้ขึ้นเป็ผู้นำสหภาพโชเวียตขณะนั้นการเงินสหภาพโชเวียตตกต่ำมากจนขนาดหยุดชะงักลงและมีรุฐต่างๆที่ต้องการจะแยกตัวออกมาจากสหภาพโชเวียตทำให้ช่วงปี1988-1990มีประเทศหลายประเทศแยกตัวออกมาทีละนิดทีละน้อยจนปี1991มิคาเอลกอรปาชอฟได้ออกจากการเป็นผู้นำทำให้สหภาพโชเวียดได้ล่มสลายในที่สูดแต่ถึงกระนั้นทั้งโลกก็ยังจำความยิ่งใหญ่ของสหภาพโชเวียดได้อย่างดีและถึงโชเวียดจะล่มสลายแต่เมื่อเกิดสงครามเหล่ารัฐที่แยกตัวออกมาก็พร้อมที่จะร่วมทำลายศัตรูของเขาอย่างน่ากลัวเช่นเดิมไม่มากก็น้อย... หน้าแรก
รวมอาวุธของสมัยสหภาพโซเวียต RPK MAKAROV MOSIN TK PPSH-41 AS VAL SKS RPD AK-47 หน้าแรก
ณัฐวัฒน์ ทาหน่อทอง 2/4 4