งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่ของภาษา VB

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่ของภาษา VB"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่ของภาษา VB

2 ข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่ของภาษา VB
ข้อมูล (Data) ตัวแปร (Variable) ค่าคงที่ (Constant)

3 ชนิดข้อมูล (Data Type)
ข้อมูลทุกอย่างในคอมพิวเตอร์จะต้องมีประเภทข้อมูล ตัวอย่างข้อมูล เช่น “สมชาย” , 500, ชนิดข้อมูลสำหรับ VB มีดังนี้ ข้อมูลแบบตัวเลข ข้อมูลแบบตัวอักษร ข้อมูลแบบบูลีน ข้อมูลแบบวันที่ ข้อมูลแบบวัตถุ

4 ข้อมูลแบบตัวเลข แบ่งออกเป็น แบบเลขจำนวนเต็ม และแบบเลขจำนวนจริง
แบ่งออกเป็น แบบเลขจำนวนเต็ม และแบบเลขจำนวนจริง ข้อมูลแบบเลขจำนวนเต็ม ชนิดข้อมูลได้แก่ integer,long,decimal ข้อมูลแบบเลขจำนวนจริง คือ ข้อมูลที่เป็นได้ทั้งเลขจำนวนเต็ม และเลขทศนิยม ชนิดข้อมูลได้แก่ single,double,decimal

5 ข้อมูลแบบตัวอักษร แบ่งออกเป็น ตัวอักษร 1 ตัว กับตัวอักษรหลายตัว
แบ่งออกเป็น ตัวอักษร 1 ตัว กับตัวอักษรหลายตัว ตัวอักษรหนึ่งตัว ชนิดข้อมูลได้แก่ Char ตัวอักษรหลายตัว ชนิดข้อมูลได้แก่ String

6 ข้อมูลแบบบูลีน คือ ข้อมูลที่มีค่าเป็นจริง(true) หรือเท็จ(false)
ชนิดข้อมูลได้แก่ Boolean ข้อมูลแบบวันที่ คือ ข้อมูลที่มีค่า เดือน วันที่ ปีค.ศ. และเวลา ชนิดข้อมูลได้แก่ Date ข้อมูลแบบวัตถุ คือ ข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุต่างๆที่ใช้ในโปรแกรม ชนิดข้อมูลได้แก่ Object

7 สรุปชนิดข้อมูลที่สำคัญ
ค่าของข้อมูล Integer เลขจำนวนเต็ม single เลขจำนวนจริง(จำนวนเต็มและทศนิยม) char ตัวอักษร 1 ตัว String ตัวอักษรหลายตัว boolean จริง หรือ เท็จ date วันที่ object วัตถุ

8 ตัวแปร (Variable) เมื่อมีข้อมูลแล้ว ก็ต้องมีที่เก็บข้อมูล
ตัวแปรคือ “ที่เก็บข้อมูล” เมื่อเราสร้างตัวแปร จะมีการจองพื้นที่ในหน่วยความจำ รูปแบบการประกาศตัวแปร Dim ชื่อตัวแปร As ชนิดข้อมูล เช่น Dim a as Integer Dim b as String Dim c as Double Data Type ชื่อตัวแปร

9 การใช้ตัวแปร มี 3 ขั้นตอน ดังนี้
ประกาศตัวแปร กำหนดค่าให้ตัวแปร มีรูปแบบ คือ Dim ชื่อตัวแปร as ชนิดข้อมูล = ค่าของตัวแปร ใช้ตัวแปร

10 ตัวอย่างการประกาศตัวแปรชนิดตัวเลข
Dim Count As Integer ‘ประกาศตัวแปรชื่อ Count เป็น Integer Dim Price As Double ‘ประกาศตัวแปรชื่อ Price เป็น Double Dim Var1, Var2 As Integer ‘ประกาศ 2 ตัวแปรในบรรทัดเดียวกัน Dim Age As Integer = 20 ‘ประกาศตัวแปรพร้อมกำหนดค่า

11 ตัวอย่างการประกาศตัวแปรชนิดตัวอักษร
Dim school As string ‘ประกาศตัวแปรชื่อ school เป็น string Dim grade As char ‘ประกาศตัวแปรชื่อ grade เป็น char Dim name1, name2 As string ‘ประกาศ 2 ตัวแปรในบรรทัดเดียวกัน Dim school As string =“เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ” ‘ประกาศตัวแปรพร้อมกำหนดค่า Dim grade as char = “A”

12 การกำหนดค่าให้ตัวแปร
ทำได้ 2 วิธี คือ ประกาศตัวแปรพร้อมกำหนดค่าให้ตัวแปร เช่น Dim animal as String = “Cat” ประกาศตัวแปรก่อน แล้วค่อยกำหนดค่าให้ตัวแปร เช่น Dim animal as String animal = “Cat”

13 กฎเกณฑ์การตั้งชื่อตัวแปร
เริ่มต้นด้วยอักษรอังกฤษหรือ underscore (_) เท่านั้น ส่วนที่เหลือจะเป็นอักขระใดๆ ก็ได้ ยกเว้นเครื่องหมาย สัญลักษณ์ เว้นวรรค ห้ามตั้งชื่อตัวแปรให้ตรงกับชื่อสงวน(Reserved Words) เช่น คำที่เป็นชนิดข้อมูล (เช่น Integer , char , single) และคำสั่ง (เช่น Dim , text , as , backcolor) ควรตั้งชื่อให้สื่อความหมาย ไม่ควรสร้างตัวแปรหากไม่ใช้ ชื่อทั้งหมดต้องมีความยาวไม่เกิน 1023 ตัวอักษร

14 ตัวอย่างการตั้งชื่อตัวแปรที่ถูกต้อง
A1 exam1_a New_Price Income ตัวอย่างการตั้งชื่อตัวแปรที่ไม่ถูกต้อง 1A ขึ้นต้นด้วยตัวเลขไม่ได้ B 52 เว้นวรรคไม่ได้ Integer ใช้คำสงวน (ชนิดข้อมูล) ไม่ได้ In$come ใช้เครื่องหมายไม่ได้

15 การใช้กล่องข่าวสาร (MessageBox)
MsgBox(ชื่อตัวแปร,0,”ข้อความ”) ชื่อตัวแปร : แสดงค่าของตัวแปร 0 : ให้กล่องข่าวสารแสดงปุ่ม OK “ข้อความ” : ข้อความที่แสดงบนแถบชื่อของกล่องข่าวสาร

16 ค่าคงที่ (Constant) คือ ค่าที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง และเป็นค่าที่ใช้ซ้ำอยู่บ่อยๆ รูปแบบการกำหนดค่าคงที่ มี 2 แบบคือ 1. แบบประกาศค่าคงที่ แล้วค่อยกำหนดเป็นค่าของข้อมูล Dim ชื่อตัวแปร as ชนิดข้อมูล Const ชื่อตัวแปร = ค่าของข้อมูล เช่น Dim pi as single Const pi =

17 2. การประกาศค่าคงที่ พร้อมกำหนดค่าของข้อมูล
Const ชื่อตัวแปร As ชนิดข้อมูล = ค่าของข้อมูล เช่น Const pi As Single =

18 การแปลงชนิดข้อมูล การแปลงตัวเลขให้เป็นข้อความ
(ใช้ในกรณีที่ต้องการนำค่าตัวเลขมาแสดงเป็นข้อความ) ใช้ฟังก์ชัน Cstr(ค่าตัวเลข หรือตัวแปร) เช่น money = Cstr(123.50) ‘ผลที่ได้คือ money มีค่าเป็น “123.50” Dim my_number As Integer = 70 Dim my_text As String my_text = Cstr(my_number) ‘ผลที่ได้คือ my_text มีค่าเป็น “70”

19 การแปลงข้อความให้เป็นตัวเลข
(ใช้ในกรณีที่ต้องการนำข้อความมาใช้ในการคำนวณ) ใช้ฟังก์ชัน Val(ข้อความ หรือตัวแปร) เช่น my_number = Val(“007”) ‘ผลที่ได้คือ my_number มีค่าเป็น 7 Dim my_text As String = “007” Dim my_number As Integer my_number = Val(my_text) + 3 ‘ผลที่ได้คือ my_number มีค่าเป็น 7+3 = 10 หมายเหตุ ถ้าข้อความเป็น Null คือ ไม่มีตัวอักษร ค่าที่ได้จากการแปลงข้อความเป็นตัวเลข จะเท่ากับ 0

20 การแปลงตัวเลขทศนิยมเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม
ถ้าตำแหน่งทศนิยมตั้งแต่ 0.5 จะปัดขึ้น ถ้าต่ำกว่า 0.5 จะปัดลง ใช้ฟังก์ชัน CInt(ตัวเลขทศนิยม หรือตัวแปร) เช่น sum = CInt(11.50) ‘ผลที่ได้ คือ sum มีค่าเป็น 12 Dim GPA As Single = 3.25 Dim grade As Integer grade = CInt(GPA) ‘ผลที่ได้ คือ grade มีค่าเป็น 3

21 เครื่องหมายในการคำนวณทางคณิตศาสตร์
ความหมาย ตัวอย่าง ผลลัพธ์ ^ ยกกำลัง 3 ^ 2 9 * คูณ 4 * 5 20 / หาร 5 / 2 2.5 \ หารแบบจำนวนเต็ม 5 \ 2 2 Mod หารแบบเอาเศษ 5 mod 2 1 + บวก 12 + 5 17 - ลบ 12 - 5 7

22 การสร้างโปรแกรมใช้งานคำนวณ
ลำดับการคำนวณ จะคำนวณจากซ้ายไปขวา และจะคำนวณในวงเล็บก่อน ตัวอย่าง ประโยคคำสั่งกำหนดค่าด้วยการคำนวณ Sum = Average = sum/3 area=(3.141 * (r^2)) Tax = money * 0.07

23 ตัวอย่างการสร้างโปรแกรมคำนวณ
โปรแกรมหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยม โดยรับค่า ฐานกับสูง เพื่อหาพื้นที่สามเหลี่ยม Demo_Triangle

24 งาน ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมเครื่องคิดเลข (10 คะแนน)
งาน ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมเครื่องคิดเลข (10 คะแนน) กำหนดให้เครื่องคิดเลขคำนวณตามเครื่องหมายดังรูป โดยให้รับค่าตัวเลข 2 ตัว และเมื่อกดปุ่มเครื่องหมาย จึงจะแสดงผลลัพธ์ Demo_Calculator

25


ดาวน์โหลด ppt ข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่ของภาษา VB

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google