ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 1 Function Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ทุกแห่ง) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 1.1 : ความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามโครงการที่กำหนด และการเบิกจ่ายเงินงบประมาณภาพรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 คำอธิบาย ความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามโครงการที่กำหนด และการเบิกจ่ายเงินงบประมาณภาพรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นการประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินงานตามหลักภารกิจพื้นฐาน งานประจำตามหน้าที่ปกติ ที่ได้รับมอบหมายในทุกผลผลิต โครงการ และกิจกรรม ในการฝึกอบรม (เป้าหมาย 93,942 คน) ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน (เป้าหมาย 30,700 คน) การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานภายใต้ พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 (เป้าหมาย 3,700,000 คน) พิจารณาจากการดำเนินงานที่บรรลุเป้าหมายในแต่ละกิจกรรมตามข้อ 1 ที่บันทึกข้อมูลผลการพัฒนาฝีมือแรงงานลงในระบบรายงานผลการพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://datacenter.dsd.go.th) โดยค่าเป้าหมายในแต่ละกิจกรรมต้องไม่น้อยกว่าค่าเป้าหมายที่แต่ละหน่วยงานได้รับการจัดสรร รวมทั้งการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามที่ได้รับจัดสรร (พิจารณาจากระบบ GFMIS ของกรมบัญชีกลาง) รอบที่ 1 ผลการดำเนินการระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 และรอบที่ 2 ผลการดำเนินการระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน 2562 หากหน่วยมีการเปลี่ยนแปลงจำนวนเป้าหมายที่จะมีผลต่อการประเมินตัวชี้วัด หน่วยงานจะต้องมีหนังสือชี้แจงเหตุผลมาที่กองแผนงานและสารสนเทศ เพื่อที่กองแผนงานและสารสนเทศจะได้พิจารณา และแจ้งศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศปรับจำนวนเป้าหมายในระบบ KPI ต่อไป เงื่อนไข : รอบที่ 1 งบลงทุน และงบรายจ่ายอื่น ในลักษณะค่าจ้างที่ปรึกษา ที่ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ภายในไตรมาสที่ 1 - 2 ให้ชี้แจงเหตุผล และกระบวนการดำเนินงานที่ดำเนินการแล้ว ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ ส่งกองบริหารการคลัง เพื่อประกอบการพิจารณาหลักเกณฑ์ผ่าน/ไม่ผ่าน รอบที่ 2 ค่าจ้างเหมาบริการ ที่ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ภายในวันที่ 30 กันยายน 2562 เนื่องจากต้องดำเนินการตามสัญญา ให้ชี้แจงเหตุผล และส่งข้อมูลให้กองบริการการคลัง เพื่อประกอบการพิจารณาหลักเกณฑ์ผ่าน/ไม่ผ่าน 5. เจ้าภาพ : กองแผนงานและสารสนเทศ ผู้รับผิดชอบ : นางสาวนราภรณ์ สุวรรณประเสริฐ/นายสรายุธ ศศิสุวรรณ/นางสาวอารีย์ ชูผึ้ง/นางสาวพงศิยา อ่ำนาคิล โทรศัพท์ : 0 2245 7065 กองบริหารการคลัง ผู้รับผิดชอบ : นางสาวยุวดี เก้าเอี้ยน/นางสาวสุกัญญา สุวรรณรัตน์ โทรศัพท์ : 0 2245 6166 สูตรการคำนวณ 16-1 ร้อยละของการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนการปฏิบัติงาน = จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฝึกอบรม ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ภายใต้ พ.ร.บ. พ.ศ.2545 ) ที่ดำเนินการแล้วเสร็จ X 100 เป้าหมายการดำเนินการที่ได้รับในทุกโครงการ ฝึกอบรม ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ภายใต้ พ.ร.บ. พ.ศ. 2545
งบประมาณที่หน่วยงานเบิกจ่ายภาพรวม ไตรมาส 1 - 4 (พิจารณาจากระบบ GFMIS) ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 1 Function Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ทุกแห่ง) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 1.1 : ความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามโครงการที่กำหนด และการเบิกจ่ายเงินงบประมาณภาพรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 สูตรการคำนวณ รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณ = ของหน่วยงาน งบประมาณที่หน่วยงานเบิกจ่ายภาพรวม ไตรมาสที่ 1 - 2 (พิจารณาจากระบบ GFMIS) X 100 วงเงินงบประมาณที่หน่วยงานได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ 2562 รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) 16 - 2 ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณ = ของหน่วยงาน งบประมาณที่หน่วยงานเบิกจ่ายภาพรวม ไตรมาส 1 - 4 (พิจารณาจากระบบ GFMIS) X 100 วงเงินงบประมาณที่หน่วยงานได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ 2562 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนาฝีมือ แรงงาน ตามโครงการที่กำหนด และดำเนินการแล้วเสร็จ ร้อยละ 45 เบิกจ่ายเงินงบประมาณภาพรวม ไตรมาส 1 - 2 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 54.00 จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนาฝีมือแรงงานตามโครงการที่กำหนด และดำเนินการแล้วเสร็จ ร้อยละ 100 เบิกจ่ายเงินงบประมาณภาพรวม ไตรมาส 1- 4 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 100.00
ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 1 Function Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 1.2 : ความสำเร็จของการบรรลุผลสัมฤทธิ์ในโครงการควบคุมและกำกับดูแลการประกอบอาชีพที่อาจเป็น อันตรายต่อสาธารณะหรือต้องใช้ผู้มีความรู้ความสามารถสู่ Safety at Work คำอธิบาย พิจารณาจากจำนวนผู้ปฏิบัติงานสาขาอาชีพช่างไฟฟ้าภายในอาคารได้รับการประเมินและรับรองความรู้ความสามารถ ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562 เทียบกับเป้าหมายการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จำนวนเป้าหมาย 6,000 คน และบันทึกข้อมูลผลการประเมินและรับรองความรู้ความสามารถลงในระบบสารสนเทศ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://www.e-license.dsd.go.th) กรณีหน่วยงานเปลี่ยนแปลงเป้าหมายกิจกรรมที่กำหนดไว้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (สำนักงานรับรองความรู้ความสามารถ) เจ้าภาพ : สำนักงานรับรองความรู้ความสามารถ ผู้รับผิดชอบ : นายสมบูรณ์ รักษ์วงษ์, นายปฏิภาณ สวนสวัสดิ์ โทรศัพท์ : 0 2245 1703 อื่นๆ (ถ้ามี) สูตรการคำนวณ (ถ้ามี) = จำนวนผู้ปฏิบัติงานสาขาอาชีพช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ที่ได้รับการประเมินและรับรองความรู้ความสามารถ ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562 (คน) X 100 เป้าหมายการดำเนินการประเมินและรับรองความรู้ความสามารถ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 (คน) 17 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 ร้อยละของผู้ปฏิบัติงาน ได้รับการประเมินและรับรองความรู้ความสามารถ (สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร) ร้อยละ 50 ร้อยละของผู้ปฏิบัติงาน ได้รับการประเมิน และรับรองความรู้ความสามารถ (สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร) ร้อยละ 100
ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 1 Function Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ทุกแห่ง) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 1.3 : ความสำเร็จในการส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน ตัวชี้วัดย่อยที่ 1.3.1 ร้อยละของจำนวนพนักงานที่ได้รับการพัฒนาฝีมือแรงงานจากสถานประกอบกิจการ ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 มีศักยภาพในการทำงานเพิ่มขึ้น คำอธิบาย 1. การประเมินศักยภาพภายหลังการฝึกอบรม หมายถึง ศักยภาพแรงงานที่จะทำให้บุคคลทำงานได้ดีในแต่ละด้านที่สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ได้ภายหลังจากการฝึกอบรม โดยแบ่งเป็น 5 ด้าน การประเมิน ได้แก่ (1) ความรู้ (2) การปฏิบัติงาน (3) ทัศนคติ (4) การแก้ปัญหา (5) ความปลอดภัย ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมในการประเมินพนักงานว่ามีศักยภาพเพิ่มขึ้นหรือไม่นั้น จะพิจารณาจากการวัดประเมินผลสัมฤทธิ์การฝึกอบรมฝีมือแรงงานที่ผ่านการฝึกอบรมว่ามีอย่างน้อยหนึ่งด้านการประเมินที่เพิ่มขึ้นจะถือว่าเป็นแรงงานที่มีศักยภาพแรงงานเพิ่มขึ้นภายหลังจากการฝึกอบรม พิจารณาจากจำนวนพนักงานที่ได้รับการฝึกอบรมฝีมือแรงงานจากสถานประกอบกิจการ ที่นายทะเบียนให้ความเห็นชอบหลักสูตร รายละเอียดที่เกี่ยวข้อง และค่าใช้จ่ายในการฝึก อบรมฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562 เทียบกับเป้าหมายการดำเนินการตามกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนให้ สถานประกอบกิจการดำเนินการฝึกอบรมตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จำนวน 3.7 ล้านคน โดยพนักงานที่ผ่านการพัฒนาฝีมือแรงงานมีศักยภาพในการทำงานเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562 และบันทึกข้อมูลผลการประเมินศักยภาพลงในระบบรายงานผลการพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://datacenter.dsd.go.th) ประเมินรอบที่ 1 ใช้ฐานคำนวณจากเป้าหมาย 6 เดือน (55 %) และประเมินรอบที่ 2 ใช้ฐานคำนวณจากเป้าหมาย 12 เดือน (60 %) กรณีหน่วยงานเปลี่ยนแปลงเป้าหมายกิจกรรมที่กำหนดไว้ตามแผนพัฒนาฝีมือแรงงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมฯ (กองแผนงานและสารสนเทศ) เงื่อนไข : ในกรณีจำนวนพนักงานที่ได้รับการฝึกอบรมฝีมือแรงงานจากสถานประกอบกิจการที่นายทะเบียนให้ความเห็นชอบหลักสูตรฯ ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมฯ พ.ศ. 2545 มีศักยภาพในการทำงานเพิ่มขึ้นเกินกว่าเป้าหมายที่ได้รับ (100%) จะไม่นำส่วนที่เกินจากเป้าหมายมาคิดคำนวณในการวัดค่าเป้าหมาย เจ้าภาพ : กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ผู้รับผิดชอบ : นางสุรัชตา พ่อธานี ,นางสาวจันทกานต์ ช่วยรอด โทรศัพท์ : 0 2246 1937 สูตรการคำนวณ 18 = จำนวนพนักงานที่ได้รับการฝึกอบรมฝีมือแรงงานจากสถานประกอบกิจการ ที่นายทะเบียนให้ความเห็นชอบหลักสูตรฯ ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมฯ พ.ศ. 2545 มีศักยภาพในการทำงานเพิ่มขึ้นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562 (คน) X 100 เป้าหมายการดำเนินการตามกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการดำเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมฯ พ.ศ. 2545 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (คน) เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 จำนวนพนักงานที่ได้รับการฝึกอบรม ฝีมือแรงงานจากสถานประกอบกิจการ ที่นายทะเบียนให้ความเห็นชอบ หลักสูตร ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมฯ พ.ศ. 2545 มีศักยภาพในการทำงานเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 55 จำนวนพนักงานที่ได้รับการฝึกอบรมฝีมือแรงงานจากสถานประกอบกิจการที่นายทะเบียนให้ความเห็นชอบหลักสูตร ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมฯ พ.ศ. 2545 มีศักยภาพในการทำงานเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
(ใช้ข้อมูลผู้ประกอบกิจการโดยอ้างอิงตามข้อ 3) ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 1 Function Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ทุกแห่ง) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 1.3 : ความสำเร็จในการส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน ตัวชี้วัดย่อยที่ 1.3.2 ร้อยละของจำนวนสถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงการส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนา ฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 ประจำปี พ.ศ. 2561 คำอธิบาย ร้อยละของจำนวนสถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงการส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 ประจำปี พ.ศ. 2561 หมายถึง จำนวน สถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงการส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน (สท.2) ประจำปี พ.ศ. 2561 เทียบกับเป้าหมายจำนวนสถานประกอบกิจการที่อยู่ในข่ายบังคับเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปี พ.ศ. 2561 สถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงการส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 หมายถึง สถานประกอบกิจการที่อยู่ในข่ายบังคับ เงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 ซึ่งยื่นแบบแสดงการส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน (สท.2) ประจำปี พ.ศ. 2561 ระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2562 – 30 กันยายน 2562 สถานประกอบกิจการที่อยู่ในข่ายบังคับเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปี พ.ศ. 2561 หมายถึง ผู้ประกอบกิจการประเภทอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือธุรกิจอย่างอื่นในทุกท้องที่ ที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป ใช้ฐานข้อมูลผู้ประกอบกิจการโดยอ้างอิงจากสำนักงานประกันสังคม (ข้อมูล ณ วันที่ 1 มีนาคม 2560) ซึ่งหน่วยงานได้ตรวจสอบและติดตามรายงานผล ณ สิ้นเดือนกันยายน 2561 ตามหนังสือกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ด่วนที่สุด ที่ รง 0406/ว 04455 ลงวันที่ 20 เมษายน 2561 การเปลี่ยนแปลงเป้าหมายจำนวนสถานประกอบกิจการตามข้อ 3 (กรณีหยุด เลิก ย้ายกิจการ) ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมฯ โดยมีหนังสือชี้แจงเหตุผลถึงกองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน และบันทึกข้อมูลในระบบรายงานผลการพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://datacenter.dsd.go.th) หัวข้อ ส่งเสริมการฝึก หัวข้อย่อย การแจ้งเปลี่ยนแปลงข้อมูลสถานประกอบกิจการ (สท. 8) เจ้าภาพ : กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ผู้รับผิดชอบ : นางสุรัชตา พ่อธานี,นางสาวรชยา ธนินภูริชญา โทรศัพท์ : 0 2246 1937 สูตรการคำนวณ 19 = จำนวนสถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงการส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมฯ พ.ศ. 2545 ประจำปี พ.ศ. 2561 ระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2562 – 30 กันยายน 2562 (แห่ง) X 100 จำนวนสถานประกอบกิจการที่อยู่ในข่ายบังคับเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปี พ.ศ. 2561 (แห่ง) (ใช้ข้อมูลผู้ประกอบกิจการโดยอ้างอิงตามข้อ 3) เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 จำนวนสถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงการส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมฯ พ.ศ. 2545 ได้ร้อยละ 50 จำนวนสถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงการส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมฯ พ.ศ. 2545 ได้ร้อยละ 100
ผลการดำเนินการสร้างความรับรู้ความเข้าใจผ่านสื่อช่องทางต่างๆ ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝืมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ทุกแห่ง) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.1 : ความสำเร็จของการสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน คำอธิบาย ความสำเร็จของการสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน คือ การที่หน่วยงานสามารถดำเนินการสร้างความรับรู้ความเข้าใจผ่านสื่อช่องทางต่างๆ โดยประเมินจากปริมาณและประสิทธิภาพของการชี้แจง โดยผลการดำเนินการสร้างความรับรู้ความเข้าใจให้มุ่งเน้นการชี้แจงผลการดำเนินการที่ทำมาแล้ว โดยเฉพาะเรื่องที่อยู่ในความสนใจหรือเป็นการแก้ปัญหาความเดือดร้อน ตลอดจนการชี้แจง แก้ข่าว แจ้งข่าว เพื่อให้ประชาชนทราบว่าหน่วยงาน ส่วนราชการ หรือรัฐบาลจะดำเนินการเรื่องใด อย่างไร มีจุดมุ่งหมายอย่างไร จะเป็นประโยชน์ ต่อประเทศชาติและประชาชนอย่างไร พิจารณาจากผลการดำเนินการตามแผนสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน โดยกำหนดให้หน่วยงานจัดทำแผน-ผลการดำเนินงานผ่านสื่อช่องทางต่างๆ อาทิ โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ สื่อออนไลน์ของหนังสือพิมพ์ วิทยุ หรือโทรทัศน์ ทั้งสื่อส่วนกลางและสื่อท้องถิ่น รวมถึงประชาสัมพันธ์จังหวัด ซึ่งมีเป้าหมายดำเนินการรอบที่ 1 ไม่น้อยกว่า 12 ครั้ง รอบที่ 2 ไม่น้อยกว่า 12 ครั้ง รวมไม่น้อยกว่า 24 ครั้ง ในประเด็นต่างๆ อาทิ การพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน ทั้งเตรียมเข้าทำงาน ยกระดับฝีมือแรงงาน การฝึกแรงงานในระบบและนอกระบบ การดำเนินงานภายใต้ พ.ร.บ.ส่งเสริมฯ การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน การแข่งขันฝีมือแรงงานทั้งระดับภาค ระดับชาติ และระดับนานาชาติ และกิจกรรมอื่นๆ ตลอดจนกิจกรรมเพื่อสร้างภาพลักษณ์แก่องค์กร ภายใต้ภารกิจกรมฯ เงื่อนไข: รอบที่ 1 ดำเนินการระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 และรอบที่ 2 ดำเนินการระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน 2562 พิจารณารอบ 6 เดือนแรก และ 6 เดือนหลัง ไม่สะสมยอด 4. หลักฐาน: แนบเอกสารประกอบการพิจารณา เจ้าภาพ : กองสื่อสารองค์กร ผู้รับผิดชอบ : นางพะเยาว์ ทองศรี นักประชาสัมพันธ์ชำนาญการ โทรศัพท์ : 0 2247 6606 6. สูตรการคำนวณ 20 ร้อยละของผลการดำเนินการตามแผนสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน ผลการดำเนินการสร้างความรับรู้ความเข้าใจผ่านสื่อช่องทางต่างๆ X100 เป้าหมายการดำเนินการสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน (รอบที่ประเมิน) ประจำปี พ.ศ. 2562 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือนแรก) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (6 เดือนหลัง) เป้าหมาย ปี 62 รายงานผลการดำเนินการสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน ในรอบ 6 เดือนแรก ไม่น้อยกว่า 12 ครั้ง รายงานผลการดำเนินการสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน ในรอบ 6 เดือนหลัง ไม่น้อยกว่า 12 ครั้ง
ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน / AHRDA / DSD Wellness) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.2 : ความสำเร็จของการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เป็นแรงงานคุณภาพ (Super Worker) เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ตัวชี้วัดย่อยที่ 2.2.1 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามโครงการเพิ่มศักยภาพแรงงานรองรับ THAILAND 4.0 คำอธิบาย 1. ความความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมาย : เป็นการประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพในการดำเนินงานตามหลักการและแนวนโยบายของกระทรวงแรงงาน ภารกิจพื้นฐาน และงานประจำตามหน้าที่ปกติที่เชื่อมโยงกับเกณฑ์การประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานกับโครงการเพิ่มศักยภาพแรงงานรองรับ THAILAND 4.0 2. พิจารณาจากการดำเนินงาน ดังนี้: (1) กำหนดให้รอบที่ 1 ผลการดำเนินงานระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 และ รอบที่ 2 ผลการดำเนินงานระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน 2562 (2) รอบที่ 1 พิจารณาจากหลักสูตรที่เปิดฝึกระหว่าง 1 ตุลาคม 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2562 และ รอบที่ 2 พิจารณาจากหลักสูตรที่เปิดฝึกตั้งแต่ 1 มีนาคม - 31 สิงหาคม 2562 (3) หลักสูตรและกลุ่มเป้าหมายพิจารณาจากรายละเอียดที่กำหนดไว้ในโครงการตามเอกสาร “แนวทางการพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562” (4) ใช้เกณฑ์การประกันคุณภาพและแบบฟอร์ม ตามเอกสาร “เกณฑ์การประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน 2018” (5) ฝึกอบรมฝีมือแรงงานเป็นไปตามแนวทางในหนังสือสำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก ที่ รง 0407/2340 ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2561 เรื่อง การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 3. หลักฐาน : ข้อมูลผลการดำเนินงานจากระบบรายงานผลการพัฒนาฝีมือแรงงานและระบบคลังข้อมูล (http://datacenter.dsd.go.th) Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://www.dsd.go.th/DSD/Intro/ListTrainging2559) 4. เจ้าภาพ : สำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก ผู้รับผิดชอบ : นางเพ็ญประภา ศิริรัตน์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก นางสาวศิริลักษณ์ ประศาสตร์อินทาระ นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการพิเศษ และนางสาวนุชจรินท์ สายรัดทอง นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการ โทรศัพท์ : 0 2245 4360 5. กำหนดตัวชี้วัดย่อยออกเป็น 5 ตัวชี้วัด และการคำนวณค่าคะแนนตัวชี้วัดย่อย (A) ร้อยละของหลักสูตรการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ (B) ร้อยละของผู้รับการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ จำนวนหลักสูตรการฝึกที่เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ x 100 จำนวนผู้รับการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ x 100 จำนวนหลักสูตรตามโครงการที่มีการเปิดฝึกทั้งหมด จำนวนผู้รับการฝึกตามโครงการทั้งหมด (C) ร้อยละของหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่าน Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จำนวนหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่าน Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน x 100 จำนวนหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter ทั้งหมด (D) ร้อยละของหลักสูตรที่มีการฝึกมีทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร* จำนวนหลักสูตรที่มีการฝึกมีทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร x 100 จำนวนหลักสูตรตามโครงการที่มีการเปิดฝึกทั้งหมด ข้อ (A) - (D) กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ (E) ค่าคะแนนความพึงพอใจของผู้รับการฝึก ใช้ผลคะแนนความพึงพอใจตามแบบประเมินความพึงพอใจด้านการฝึกอบรมของการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน (QA6222) โดยจะไม่นับแบบสอบถามที่ตอบคำถามไม่ครบถ้วนจนไม่สามารถประมวลผลได้ กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ *ทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร หมายถึง แบบทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตรตามเกณฑ์การประกันคุณภาพ (QA253) *เงื่อนไข (E) กรณีที่มีผู้สำเร็จการฝึกอบรมบันทึกผลความพึงพอใจน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของผู้สำเร็จการฝึกอบรมทั้งหมด จะคิดค่าคะแนนเท่ากับ 1 21 คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละ ต่ำกว่า 70.00 70.00 - 79.99 80.00 - 89.99 90.00 - 99.99 100 คะแนน 1 2 3 4 5 ค่าคะแนน ต่ำกว่า 3.00 3.00 - 3.49 3.50 - 3.99 4.00 - 4.49 4.50 - 5.00 1
ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลคะแนนตามตัวชี้วัดย่อย ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน / AHRDA / DSD Wellness) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.2 : ความสำเร็จของการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เป็นแรงงานคุณภาพ (Super Worker) เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ตัวชี้วัดย่อยที่ 2.2.1 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามโครงการเพิ่มศักยภาพแรงงานรองรับ THAILAND 4.0 6. สูตรการคำนวณ 6.1 การคำนวณแต่ละรอบ ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลคะแนนตามตัวชี้วัดย่อย 5 6.2 การคำนวณทั้งปี ผลการคำนวณรอบที่ 1 + ผลการคำนวณรอบที่ 2 2 x 100 22 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 ดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 หมายเหตุ จังหวัดพื้นที่ดำเนินการ หรือ หน่วยฝึก ตามตัวชี้วัดนี้ จำนวน 50 หน่วยฝึก ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นครศรีธรรมราช ปัตตานี ยะลา กระบี่ กาฬสินธุ์ กำแพงเพชร จันทบุรี ชัยนาท ชัยภูมิ ชุมพร ตรัง นครนายก นนทบุรี น่าน บึงกาฬ บุรีรัมย์ ประจวบคีรีขันธ์ ปราจีนบุรี พังงา พัทลุง พิจิตร เพชรบุรี เพชรบูรณ์ แพร่ พะเยา มหาสารคาม แม่ฮ่องสอน ยโสธร ร้อยเอ็ด ระนอง ลพบุรี ลำพูน เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สตูล สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สิงห์บุรี สุโขทัย สุรินทร์ หนองบัวลำภู อ่างทอง อุทัยธานี อุตรดิตถ์ อำนาจเจริญ DSD Wellness และ AHRDA 2
ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติ) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.2 : ความสำเร็จของการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เป็นแรงงานคุณภาพ (Super Worker) เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ตัวชี้วัดย่อยที่ 2.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามโครงการศูนย์ฝึกอบรมเทคโนโลยีชั้นสูงรองรับอุตสาหกรรมแห่งอนาคต คำอธิบาย 1. ความความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมาย : เป็นการประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพในการดำเนินงานตามหลักการและแนวนโยบายของกระทรวงแรงงาน ภารกิจพื้นฐาน และงานประจำตามหน้าที่ปกติที่เชื่อมโยงกับเกณฑ์การประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานกับโครงการศูนย์ฝึกอบรมเทคโนโลยีชั้นสูงรองรับอุตสาหกรรมแห่งอนาคต 2. พิจารณาจากการดำเนินงาน ดังนี้: (1) กำหนดให้รอบที่ 1 ผลการดำเนินงานระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 และ รอบที่ 2 ผลการดำเนินงานระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน 2562 (2) รอบที่ 1 พิจารณาจากหลักสูตรที่เปิดฝึกระหว่าง 1 ตุลาคม 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2562 และ รอบที่ 2 พิจารณาจากหลักสูตรที่เปิดฝึกตั้งแต่ 1 มีนาคม - 31 สิงหาคม 2562 (3) หลักสูตรและกลุ่มเป้าหมายพิจารณาจากรายละเอียดที่กำหนดไว้ในโครงการตามเอกสาร “แนวทางการพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562” (4) ใช้เกณฑ์การประกันคุณภาพและแบบฟอร์ม ตามเอกสาร “เกณฑ์การประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน 2018” (5) ฝึกอบรมฝีมือแรงงานเป็นไปตามแนวทางในหนังสือสำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก ที่ รง 0407/2340 ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2561 เรื่อง การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 3. หลักฐาน : ข้อมูลผลการดำเนินงานจากระบบรายงานผลการพัฒนาฝีมือแรงงานและระบบคลังข้อมูล (http://datacenter.dsd.go.th) Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://www.dsd.go.th/DSD/Intro/ListTrainging2559) 4. เจ้าภาพ : สำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก ผู้รับผิดชอบ : นางเพ็ญประภา ศิริรัตน์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก นางสาวศิริลักษณ์ ประศาสตร์อินทาระ นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการพิเศษ และนางสาวนุชจรินท์ สายรัดทอง นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการ โทรศัพท์ : 0 2245 4360 5. กำหนดตัวชี้วัดย่อยออกเป็น 5 ตัวชี้วัด และการคำนวณค่าคะแนนตัวชี้วัดย่อย (A) ร้อยละของหลักสูตรการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ (B) ร้อยละของผู้รับการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ จำนวนหลักสูตรการฝึกที่เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ x 100 จำนวนผู้รับการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ x 100 จำนวนหลักสูตรตามโครงการที่มีการเปิดฝึกทั้งหมด จำนวนผู้รับการฝึกตามโครงการทั้งหมด (C) ร้อยละของหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่าน Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จำนวนหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่าน Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน x 100 จำนวนหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter ทั้งหมด (D) ร้อยละของหลักสูตรที่มีการฝึกมีทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร* จำนวนหลักสูตรที่มีการฝึกมีทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร x 100 จำนวนหลักสูตรตามโครงการที่มีการเปิดฝึกทั้งหมด ข้อ (A) - (D) กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ (E) ค่าคะแนนความพึงพอใจของผู้รับการฝึก ใช้ผลคะแนนความพึงพอใจตามแบบประเมินความพึงพอใจด้านการฝึกอบรมของการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน (QA6222) โดยจะไม่นับแบบสอบถามที่ตอบคำถามไม่ครบถ้วนจนไม่สามารถประมวลผลได้ กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ *ทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร หมายถึง แบบทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตรตามเกณฑ์การประกันคุณภาพ (QA253) *เงื่อนไข (E) กรณีที่มีผู้สำเร็จการฝึกอบรมบันทึกผลความพึงพอใจน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของผู้สำเร็จการฝึกอบรมทั้งหมด จะคิดค่าคะแนนเท่ากับ 1 23 คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละ ต่ำกว่า 70.00 70.00 - 79.99 80.00 - 89.99 90.00 - 99.99 100 คะแนน 1 2 3 4 5 ค่าคะแนน ต่ำกว่า 3.00 3.00 - 3.49 3.50 - 3.99 4.00 - 4.49 4.50 - 5.00 1
ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลคะแนนตามตัวชี้วัดย่อย ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติ) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.2 : ความสำเร็จของการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เป็นแรงงานคุณภาพ (Super Worker) เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ตัวชี้วัดย่อยที่ 2.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามโครงการศูนย์ฝึกอบรมเทคโนโลยีชั้นสูงรองรับอุตสาหกรรมแห่งอนาคต 6. สูตรการคำนวณ 6.1 การคำนวณแต่ละรอบ ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลคะแนนตามตัวชี้วัดย่อย 5 6.2 การคำนวณทั้งปี ผลการคำนวณรอบที่ 1 + ผลการคำนวณรอบที่ 2 2 x 100 24 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 ดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 หมายเหตุ จังหวัดพื้นที่ดำเนินการ หรือ หน่วยฝึก ตามตัวชี้วัดนี้ จำนวน 17 หน่วยฝึก ได้แก่ สมุทรปราการ สุพรรณบุรี ราชบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น อุบลราชธานี นครสวรรค์ พิษณุโลก ลำปาง สุราษฎร์ธานี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา นครปฐม อุดรธานี เชียงใหม่ ภูเก็ต และ สพช. 2
ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.2 : ความสำเร็จของการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เป็นแรงงานคุณภาพ (Super Worker) เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ตัวชี้วัดย่อยที่ 2.2.3 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามโครงการพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของภาคอุตสาหกรรมและบริการ คำอธิบาย 1. ความความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมาย : เป็นการประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพในการดำเนินงานตามหลักการและแนวนโยบายของกระทรวงแรงงาน ภารกิจพื้นฐาน และงานประจำตามหน้าที่ปกติที่เชื่อมโยงกับเกณฑ์การประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานกับโครงการพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของภาคอุตสาหกรรมและบริการ 2. พิจารณาจากการดำเนินงาน ดังนี้: (1) กำหนดให้รอบที่ 1 ผลการดำเนินงานระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 และ รอบที่ 2 ผลการดำเนินงานระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน 2562 (2) รอบที่ 1 พิจารณาจากหลักสูตรที่เปิดฝึกระหว่าง 1 ตุลาคม 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2562 และ รอบที่ 2 พิจารณาจากหลักสูตรที่เปิดฝึกตั้งแต่ 1 มีนาคม - 31 สิงหาคม 2562 (3) หลักสูตรและกลุ่มเป้าหมายพิจารณาจากรายละเอียดที่กำหนดไว้ในโครงการตามเอกสาร “แนวทางการพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562” (4) ใช้เกณฑ์การประกันคุณภาพและแบบฟอร์ม ตามเอกสาร “เกณฑ์การประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน 2018” (5) การฝึกอบรมฝีมือแรงงานให้เป็นไปตามแนวทางในหนังสือสำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก ที่ รง 0407/2340 ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2561 เรื่อง การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 3. หลักฐาน : ข้อมูลผลการดำเนินงานจากระบบรายงานผลการพัฒนาฝีมือแรงงานและระบบคลังข้อมูล (http://datacenter.dsd.go.th) Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://www.dsd.go.th/DSD/Intro/ListTrainging2559) 4. เจ้าภาพ : สำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก ผู้รับผิดชอบ : นางเพ็ญประภา ศิริรัตน์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก นางสาวศิริลักษณ์ ประศาสตร์อินทาระ นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการพิเศษ และนางสาวนุชจรินท์ สายรัดทอง นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการ โทรศัพท์ : 0 2245 4360 5. กำหนดตัวชี้วัดย่อยออกเป็น 5 ตัวชี้วัด และการคำนวณค่าคะแนนตัวชี้วัดย่อย (A) ร้อยละของหลักสูตรการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ (B) ร้อยละของผู้รับการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ จำนวนหลักสูตรการฝึกที่เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ x 100 จำนวนผู้รับการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ x 100 จำนวนหลักสูตรตามโครงการที่มีการเปิดฝึกทั้งหมด จำนวนผู้รับการฝึกตามโครงการทั้งหมด (C) ร้อยละของหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่าน Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จำนวนหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่าน Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน x 100 จำนวนหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter ทั้งหมด (D) ร้อยละของหลักสูตรที่มีการฝึกมีทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร* จำนวนหลักสูตรที่มีการฝึกมีทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร x 100 จำนวนหลักสูตรตามโครงการที่มีการเปิดฝึกทั้งหมด ข้อ (A) - (D) กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ (E) ค่าคะแนนความพึงพอใจของผู้รับการฝึก ใช้ผลคะแนนความพึงพอใจตามแบบประเมินความพึงพอใจด้านการฝึกอบรมของการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน (QA6221) โดยจะไม่นับแบบสอบถามที่ตอบคำถามไม่ครบถ้วนจนไม่สามารถประมวลผลได้ กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ *ทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร หมายถึง แบบทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตรตามเกณฑ์การประกันคุณภาพ (QA253) *เงื่อนไข (E) กรณีที่มีผู้สำเร็จการฝึกอบรมบันทึกผลความพึงพอใจน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของผู้สำเร็จการฝึกอบรมทั้งหมด จะคิดค่าคะแนนเท่ากับ 1 25 คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละ ต่ำกว่า 70.00 70.00 - 79.99 80.00 - 89.99 90.00 - 99.99 100 คะแนน 1 2 3 4 5 ค่าคะแนน ต่ำกว่า 3.00 3.00 - 3.49 3.50 - 3.99 4.00 - 4.49 4.50 - 5.00 1
ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลคะแนนตามตัวชี้วัดย่อย ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.2 : ความสำเร็จของการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เป็นแรงงานคุณภาพ (Super Worker) เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ตัวชี้วัดย่อยที่ 2.2.3 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามโครงการพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของภาคอุตสาหกรรมและบริการ 6. สูตรการคำนวณ 6.1 การคำนวณแต่ละรอบ ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลคะแนนตามตัวชี้วัดย่อย 5 6.2 การคำนวณทั้งปี ผลการคำนวณรอบที่ 1 + ผลการคำนวณรอบที่ 2 2 x 100 26 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 ดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 หมายเหตุ จังหวัดพื้นที่ดำเนินการ หรือ หน่วยฝึก ตามตัวชี้วัดนี้ จำนวน 64 หน่วยฝึก ได้แก่ สมุทรปราการ สุพรรณบุรี ราชบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น อุบลราชธานี นครสวรรค์ พิษณุโลก ลำปาง สุราษฎร์ธานี สงขลา กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อุดรธานี เชียงใหม่ ภูเก็ต นครศรีธรรมราช ปัตตานี ยะลา กระบี่ กาฬสินธุ์ กำแพงเพชร จันทบุรี ชัยนาท ชัยภูมิ ชุมพร ตรัง นครนายก นนทบุรี น่าน บึงกาฬ บุรีรัมย์ ประจวบคีรีขันธ์ ปราจีนบุรี พังงา พัทลุง พิจิตร เพชรบุรี เพชรบูรณ์ แพร่ พะเยา มหาสารคาม แม่ฮ่องสอน ยโสธร ร้อยเอ็ด ระนอง ลพบุรี ลำพูน เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สตูล สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สิงห์บุรี สุโขทัย สุรินทร์ หนองบัวลำภู อ่างทอง อุทัยธานี อุตรดิตถ์ อำนาจเจริญ 2
ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.2 : ความสำเร็จของการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เป็นแรงงานคุณภาพ (Super Worker) เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ตัวชี้วัดย่อยที่ 2.2.4 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามโครงการเพิ่มทักษะกำลังแรงงานในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ คำอธิบาย 1. ความความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมาย : เป็นการประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพในการดำเนินงานตามหลักการและแนวนโยบายของกระทรวงแรงงาน ภารกิจพื้นฐาน และงานประจำตามหน้าที่ปกติที่เชื่อมโยงกับเกณฑ์การประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานกับโครงการเพิ่มทักษะกำลังแรงงานในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 2. พิจารณาจากการดำเนินงาน ดังนี้: (1) กำหนดให้รอบที่ 1 ผลการดำเนินงานระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 และ รอบที่ 2 ผลการดำเนินงานระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน 2562 (2) รอบที่ 1 พิจารณาจากหลักสูตรที่เปิดฝึกระหว่าง 1 ตุลาคม 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2562 และ รอบที่ 2 พิจารณาจากหลักสูตรที่เปิดฝึกตั้งแต่ 1 มีนาคม - 31 สิงหาคม 2562 (3) หลักสูตรและกลุ่มเป้าหมายพิจารณาจากรายละเอียดที่กำหนดไว้ในโครงการตามเอกสาร “แนวทางการพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562” (4) ใช้เกณฑ์การประกันคุณภาพและแบบฟอร์ม ตามเอกสาร “เกณฑ์การประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน 2018” (5) การฝึกอบรมฝีมือแรงงานให้เป็นไปตามแนวทางในหนังสือสำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก ที่ รง 0407/2340 ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2561 เรื่อง การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 3. หลักฐาน : ข้อมูลผลการดำเนินงานจากระบบรายงานผลการพัฒนาฝีมือแรงงานและระบบคลังข้อมูล (http://datacenter.dsd.go.th) Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://www.dsd.go.th/DSD/Intro/ListTrainging2559) 4. เจ้าภาพ : สำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก ผู้รับผิดชอบ : นางเพ็ญประภา ศิริรัตน์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก นางสาวศิริลักษณ์ ประศาสตร์อินทาระ นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการพิเศษ และนางสาวนุชจรินท์ สายรัดทอง นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการ โทรศัพท์ : 0 2245 4360 5. กำหนดตัวชี้วัดย่อยออกเป็น 5 ตัวชี้วัด และการคำนวณค่าคะแนนตัวชี้วัดย่อย (A) ร้อยละของหลักสูตรการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ (B) ร้อยละของผู้รับการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ จำนวนหลักสูตรการฝึกที่เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ x 100 จำนวนผู้รับการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ x 100 จำนวนหลักสูตรตามโครงการที่มีการเปิดฝึกทั้งหมด จำนวนผู้รับการฝึกตามโครงการทั้งหมด (C) ร้อยละของหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่าน Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จำนวนหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่าน Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน x 100 จำนวนหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter ทั้งหมด (D) ร้อยละของหลักสูตรที่มีการฝึกมีทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร* จำนวนหลักสูตรที่มีการฝึกมีทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร x 100 จำนวนหลักสูตรตามโครงการที่มีการเปิดฝึกทั้งหมด ข้อ (A) - (D) กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ (E) ค่าคะแนนความพึงพอใจของผู้รับการฝึก ใช้ผลคะแนนความพึงพอใจตามแบบประเมินความพึงพอใจด้านการฝึกอบรมของการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน (QA 6221 และQA6222) โดยจะไม่นับแบบสอบถามที่ตอบคำถามไม่ครบถ้วนจนไม่สามารถประมวลผลได้ กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ *ทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร หมายถึง แบบทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตรตามเกณฑ์การประกันคุณภาพ (QA253) *เงื่อนไข (E) กรณีที่มีผู้สำเร็จการฝึกอบรมบันทึกผลความพึงพอใจน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของผู้สำเร็จการฝึกอบรมทั้งหมด จะคิดค่าคะแนนเท่ากับ 1 27 คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละ ต่ำกว่า 70.00 70.00 - 79.99 80.00 - 89.99 90.00 - 99.99 100 คะแนน 1 2 3 4 5 ค่าคะแนน ต่ำกว่า 3.00 3.00 - 3.49 3.50 - 3.99 4.00 - 4.49 4.50 - 5.00 1
ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลคะแนนตามตัวชี้วัดย่อย ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.2 : ความสำเร็จของการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เป็นแรงงานคุณภาพ (Super Worker) เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ตัวชี้วัดย่อยที่ 2.2.4 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามโครงการเพิ่มทักษะกำลังแรงงานในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 6. สูตรการคำนวณ 6.1 การคำนวณแต่ละรอบ ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลคะแนนตามตัวชี้วัดย่อย 5 6.2 การคำนวณทั้งปี ผลการคำนวณรอบที่ 1 + ผลการคำนวณรอบที่ 2 2 x 100 28 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 ดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 หมายเหตุ จังหวัดพื้นที่ดำเนินการ หรือ หน่วยฝึก ตามตัวชี้วัดนี้ จำนวน 10 หน่วยฝึก ได้แก่ สงขลา เชียงราย นราธิวาส ตาก มุกดาหาร สระแก้ว ตราด หนองคาย นครพนม กาญจนบุรี 2
ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ทุกแห่ง) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.2 : ความสำเร็จของการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เป็นแรงงานคุณภาพ (Super Worker) เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ตัวชี้วัดย่อยที่ 2.2.5 ความสำเร็จของการบรรลุผลสัมฤทธิ์ในโครงการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน สู่ SME 4.0 คำอธิบาย ความสำเร็จของการบรรลุผลสัมฤทธิ์ในโครงการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน สู่ SME 4.0 เป็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินโครงการ โดยมีเป้าหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการให้บริการของสถานประกอบกิจการ ผลิตภาพแรงงานที่มีคุณภาพสูง แสดงถึงการทำงานของแรงงานที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ดังนั้นการเพิ่มผลิตภาพแรงงานจึงเป็นการพัฒนาแรงงานให้มีขีดความสามารถด้านการผลิตที่สูงขึ้น ส่งผลต่อต้นทุนการผลิตหรือบริการให้ลดต่ำลง ลดการสูญเสียในกระบวนการผลิตและบริการ ซึ่งเป็นแผนงานบูรณาการพัฒนาผู้ประกอบการ เศรษฐกิจชุมชน และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสู่สากล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 พิจารณาจากร้อยละของจำนวนสถานประกอบการ เป้าหมายที่สามารถเพิ่มผลิตภาพแรงงานและลดการสูญเสียได้ตามเป้าหมายที่กำหนด ภายใต้โครงการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน สู่ SME 4.0 โดยกำหนดเป้าหมายให้สามารถเพิ่มผลิตภาพแรงงานและลดการสูญเสียได้อย่างน้อยร้อยละ 10 เงื่อนไข : - ไม่มี - หลักฐาน (ถ้ามี) : ผลการดำเนินงานในระบบสารสนเทศกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือรูปแบบที่กรมกำหนด เจ้าภาพ : กองพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการ ผู้รับผิดชอบ : ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมขีดความสามารถผู้ประกอบกิจการ นางสาวกฤษณา ปานสุข และนางสาวกาญจนา สุธานนท์ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทรศัพท์ : 0 2245 4406 Line : Productivity Team สูตรการคำนวณ (ถ้ามี) 29 ค่าเฉลี่ยร้อยละของการเพิ่มผลิตภาพ แรงงานและลดการสูญเสีย ร้อยละของการเพิ่มผลิตภาพแรงงานและลดการสูญเสีย ของสถานประกอบกิจการที่เข้าร่วมโครงการในปี 2562 X 100 จำนวนสถานประกอบกิจการทั้งหมด ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน สู่ SME 4.0 ในปี 2562 = เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 จำนวนสถานประกอบกิจการเป้าหมายเข้าร่วมโครงการได้ตามแผนร้อยละ 100 เป้าหมายรวมของแต่ละหน่วยงาน ค่าเฉลี่ยร้อยละของการเพิ่มผลิตภาพแรงงานและลดการสูญเสีย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.3 : ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามโครงการพัฒนาฝีมือแรงงานรองรับ 10 อุตสาหกรรม เป้าหมายและอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) คำอธิบาย 1. ความความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมาย : เป็นการประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพในการดำเนินงานตามหลักการและแนวนโยบายของกระทรวงแรงงาน ภารกิจพื้นฐาน และงานประจำตามหน้าที่ปกติที่เชื่อมโยงกับเกณฑ์การประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานกับโครงการพัฒนาฝีมือแรงงานรองรับ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายและอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก 2. พิจารณาจากการดำเนินงาน ดังนี้: (1) กำหนดให้รอบที่ 1 ผลการดำเนินงานระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 และ รอบที่ 2 ผลการดำเนินงานระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน 2562 (2) รอบที่ 1 พิจารณาจากหลักสูตรที่เปิดฝึกระหว่าง 1 ตุลาคม 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2562 และ รอบที่ 2 พิจารณาจากหลักสูตรที่เปิดฝึกตั้งแต่ 1 มีนาคม - 31 สิงหาคม 2562 (3) หลักสูตรและกลุ่มเป้าหมายพิจารณาจากรายละเอียดที่กำหนดไว้ในโครงการตามเอกสาร “แนวทางการพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562” (4) ใช้เกณฑ์การประกันคุณภาพและแบบฟอร์ม ตามเอกสาร “เกณฑ์การประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน 2018” (5) การฝึกอบรมฝีมือแรงงานให้เป็นไปตามแนวทางในหนังสือสำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก ที่ รง 0407/2340 ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2561 เรื่อง การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 3. หลักฐาน : ข้อมูลผลการดำเนินงานจากระบบรายงานผลการพัฒนาฝีมือแรงงานและระบบคลังข้อมูล (http://datacenter.dsd.go.th) Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://www.dsd.go.th/DSD/Intro/ListTrainging2559) 4. เจ้าภาพ : สำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก ผู้รับผิดชอบ : นางเพ็ญประภา ศิริรัตน์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก นางสาวศิริลักษณ์ ประศาสตร์อินทาระ นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการพิเศษ และนางสาวนุชจรินท์ สายรัดทอง นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการ โทรศัพท์ : 0 2245 4360 5. กำหนดตัวชี้วัดย่อยออกเป็น 5 ตัวชี้วัด และการคำนวณค่าคะแนนตัวชี้วัดย่อย (A) ร้อยละของหลักสูตรการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ (B) ร้อยละของผู้รับการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ จำนวนหลักสูตรการฝึกที่เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ x 100 จำนวนผู้รับการฝึกเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงการ x 100 จำนวนหลักสูตรตามโครงการที่มีการเปิดฝึกทั้งหมด จำนวนผู้รับการฝึกตามโครงการทั้งหมด (C) ร้อยละของหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่าน Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จำนวนหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่าน Website ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน x 100 จำนวนหลักสูตรที่มีการรายงานผลการฝึกเข้าระบบ Datacenter ทั้งหมด (D) ร้อยละของหลักสูตรที่มีการฝึกมีทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร* จำนวนหลักสูตรที่มีการฝึกมีทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร x 100 จำนวนหลักสูตรตามโครงการที่มีการเปิดฝึกทั้งหมด ข้อ (A) - (D) กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ (E) ค่าคะแนนความพึงพอใจของผู้รับการฝึก ใช้ผลคะแนนความพึงพอใจตามแบบประเมินความพึงพอใจด้านการฝึกอบรมของการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน (QA6222) โดยจะไม่นับแบบสอบถามที่ตอบคำถามไม่ครบถ้วนจนไม่สามารถประมวลผลได้ กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ *ทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตร หมายถึง แบบทะเบียนผู้รับการฝึกและการควบคุมวุฒิบัตรตามเกณฑ์การประกันคุณภาพ (QA253) *เงื่อนไข (E) กรณีที่มีผู้สำเร็จการฝึกอบรมบันทึกผลความพึงพอใจน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของผู้สำเร็จการฝึกอบรมทั้งหมด จะคิดค่าคะแนนเท่ากับ 1 30 คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละ ต่ำกว่า 70.00 70.00 - 79.99 80.00 - 89.99 90.00 - 99.99 100 คะแนน 1 2 3 4 5 ค่าคะแนน ต่ำกว่า 3.00 3.00 - 3.49 3.50 - 3.99 4.00 - 4.49 4.50 - 5.00 1
ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลคะแนนตามตัวชี้วัดย่อย ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.3 : ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามโครงการพัฒนาฝีมือแรงงานรองรับ 10 อุตสาหกรรม เป้าหมายและอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) 6. สูตรการคำนวณ 6.1 การคำนวณแต่ละรอบ ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลคะแนนตามตัวชี้วัดย่อย 5 6.2 การคำนวณทั้งปี ผลการคำนวณรอบที่ 1 + ผลการคำนวณรอบที่ 2 2 x 100 31 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 ดำเนินงานตามตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 หมายเหตุ จังหวัดพื้นที่ดำเนินการ หรือ หน่วยฝึก ตามตัวชี้วัดนี้ จำนวน 3 หน่วยฝึก ได้แก่ ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา 2
ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ทุกแห่ง) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.4 : ความสำเร็จของการบรรลุผลสัมฤทธิ์ในโครงการฝึกอบรมแรงงานกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ คำอธิบาย 1. ความสำเร็จของการบรรลุผลสัมฤทธิ์ในโครงการฝึกอบรมแรงงานกลุ่มเป้าหมายเฉพาะเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ เป็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินโครงการ โดยมีเป้าหมาย ให้กลุ่มเป้าหมายเฉพาะสามารถนำความรู้ไปสร้างโอกาสในการประกอบอาชีพ มีงานทำ ในระบบการจ้างงาน และการประกอบอาชีพอิสระ ซึ่งเป็นแผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพคนตลอด ช่วงชีวิต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2. พิจารณาจากการดำเนินงานที่บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยเน้นการติดตามและประเมินผล ตามแบบสอบถามผลสัมฤทธิ์ของกรม (แบบติดตามและประเมินผลการ ดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ 2562) และการบันทึกรายงานผลในระบบติดตามผลสัมฤทธิ์ (http://dev.dsd.go.th/q) โดย 2.1 รอบที่ 1 ระหว่างเดือนตุลาคม 2561 – 31 มีนาคม 2562 พิจารณาจาก 1) แผนการปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย การประชุมวิเคราะห์ผลการดำเนินการในปีที่ผ่านมา/ปัญหาอุปสรรค แผน/แนวทางการปรับปรุง การดำเนินการ ผลลัพท์ที่คาดหวัง โดยหน่วยงานต้องศึกษาข้อมูลของโครงการ การประสานงานกับหน่วยงานเครือข่าย กลุ่มเป้าหมาย หลักสูตร วิธีการดำเนินการ การประกันคุณภาพ การติดตามผลจากแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การถอดบทเรียนเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ในด้านต่าง ๆ เป็นต้น รวมทั้ง ทำความเข้าใจ กับกลุ่มเป้าหมาย ตลอดจนนำผลมาใช้ในการปรับปรุงงานต่อไป โดยให้แนบไฟล์ประกอบในระบบติดตามผลสัมฤทธิ์ (http://dev.dsd.go.th/q) 2.2 รอบที่ 2 ระหว่างเดือน เมษายน – 30 กันยายน 2562 พิจารณาจาก 1) แผนการปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยในรอบการประเมินที่ 2 พิจารณาจาก ผลการดำเนินการ และผลลัพท์ที่ เกิดขึ้นจริงอย่างเป็นรูปธรรมภายหลัง (โดยให้แนบไฟล์ประกอบในระบบติดตามผลสัมฤทธิ์ (http://dev.dsd.go.th/q) 2) ผลการดำเนินการ ติดตามแบบสอบถามผลสัมฤทธิ์ของกรม จากการบันทึกรายงานผลในระบบติดตามผลสัมฤทธิ์ (http://dev.dsd.go.th/q) 3. เงื่อนไข : 1) กรณีหน่วยงานเปลี่ยนแปลงเป้าหมายในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย (9 กลุ่ม) ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (กองพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการ) 2) ใช้แบบสอบถามผลสัมฤทธิ์ของกรม (แบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ 2562) ในภาคผนวก 3) ใช้แบบฟอร์มการรายงานแผนการปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ในภาคผนวก 4. หลักฐาน (ถ้ามี) : แบบรายงานแผนการปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 แนบไฟล์ประกอบในระบบติดตามผลสัมฤทธิ์ (http://dev.dsd.go.th/q) 5. เจ้าภาพ : กองพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการ ผู้รับผิดชอบ : นางสาวจิตชญา อ่ำสาริกา ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาศักยภาพแรงงานกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ นางสาวรวิชา อินหัน นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานปฏิบัติการ นางสาวดาว ทรัพย์มูล พนักงานธุรการ ส3 โทรศัพท์ : 0 2245 3705 6. สูตรการคำนวณ 32 ร้อยละของการติดตามผล สัมฤทธิ์ของการพัฒนาฝีมือแรงงาน จำนวนกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่ตอบแบบสอบถามผลสัมฤทธิ์ ติดตามผลภายหลังจบการฝึกอบรม ภายใน 3 เดือน (บันทึกผลภายใน 30 ก.ย. 62) X 100 จำนวนคนของกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่สำเร็จการฝึกอบรม = ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ที่สำเร็จการฝึกอบรมมีรายได้ เพิ่มมากขึ้น จำนวนคนของกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่สำเร็จการฝึกอบรมมีรายได้เพิ่มมากขึ้น ติดตามผลภายหลังจบการฝึกอบรม ภายใน 3 เดือน (บันทึกผลภายใน 30 ก.ย. 62) X 100 จำนวนกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่ตอบแบบสอบถามผลสัมฤทธิ์กลับ = เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 แผนการปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ติดตามผลสัมฤทธิ์ ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผู้สำเร็จการฝึกอบรม จำนวนของผู้สำเร็จการฝึกอบรมมีรายได้เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 20 รายงานผลของการปรับปรุง โดยเปรียบเทียบกับก่อนการปรับปรุง และการเปลี่ยนแปลงที่มีแนวโน้มดีขึ้น
ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ทุกแห่ง) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.5 : ความสำเร็จของการบรรลุผลสัมฤทธิ์ในโครงการฝึกอบรมแรงงานผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มโอกาส ในการประกอบอาชีพ คำอธิบาย 1. ความสำเร็จของการบรรลุผลสัมฤทธิ์ในโครงการฝึกอบรมแรงงานผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ เป็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินโครงการ โดยมีเป้าหมายให้ผู้สูงอายุ มีทักษะฝีมือ มีอาชีพ มีรายได้ สร้างความยั่งยืนในการประกอบอาชีพ สามารถพึ่งตนเองได้ ซึ่งเป็นแผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2. พิจารณาจากการดำเนินงานที่บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยเน้นการติดตามและประเมินผล ตามแบบสอบถามผลสัมฤทธิ์ของกรม (แบบติดตามและประเมินผลการ ดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ 2562) และการบันทึกรายงานผลในระบบติดตามผลสัมฤทธิ์ (http://dev.dsd.go.th/q) โดย 2.1 รอบที่ 1 ระหว่างเดือนตุลาคม 2561 – 31 มีนาคม 2562 พิจารณาจาก 1) แผนการปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย การประชุมวิเคราะห์ผลการดำเนินการในปีที่ผ่านมา/ปัญหาอุปสรรค แผน/แนวทางการปรับปรุง การดำเนินการ ผลลัพท์ที่คาดหวัง โดยหน่วยงานต้องศึกษาข้อมูลของโครงการ การประสานงานกับหน่วยงานเครือข่าย กลุ่มเป้าหมาย หลักสูตร วิธีการดำเนินการ การประกันคุณภาพ การติดตามผลจากแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การถอดบทเรียนเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ในด้านต่าง ๆ เป็นต้น รวมทั้ง ทำความเข้าใจ กับกลุ่มเป้าหมาย ตลอดจนนำผลมาใช้ในการปรับปรุงงานต่อไป โดยให้แนบไฟล์ประกอบในระบบติดตามผลสัมฤทธิ์ (http://dev.dsd.go.th/q) 2.2 รอบที่ 2 ระหว่างเดือน เมษายน – 30 กันยายน 2562 พิจารณาจาก 1) แผนการปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยในรอบการประเมินที่ 2 พิจารณาจาก ผลการดำเนินการ และผลลัพท์ที่ เกิดขึ้นจริงอย่างเป็นรูปธรรมภายหลัง (โดยให้แนบไฟล์ประกอบในระบบติดตามผลสัมฤทธิ์ (http://dev.dsd.go.th/q) 2) ผลการดำเนินการ ติดตามแบบสอบถามผลสัมฤทธิ์ของกรม จากการบันทึกรายงานผลในระบบติดตามผลสัมฤทธิ์ (http://dev.dsd.go.th/q) 3. เงื่อนไข : 1) กรณีหน่วยงานเปลี่ยนแปลงเป้าหมายในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย (9 กลุ่ม) ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (กองพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการ) 2) ใช้แบบสอบถามผลสัมฤทธิ์ของกรม (แบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ 2562) ในภาคผนวก 3) ใช้แบบฟอร์มการรายงานแผนการปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ในภาคผนวก 4. หลักฐาน (ถ้ามี) : แบบรายงานแผนการปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 แนบไฟล์ประกอบในระบบติดตามผลสัมฤทธิ์ (http://dev.dsd.go.th/q) 5. เจ้าภาพ : กองพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการ ผู้รับผิดชอบ : นางสาวจิตชญา อ่ำสาริกา ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาศักยภาพแรงงานกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ นางสาวรวิชา อินหัน นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานปฏิบัติการ นางสาวดาว ทรัพย์มูล พนักงานธุรการ ส3 โทรศัพท์ : 0 2245 3705 6. สูตรการคำนวณ 33 ร้อยละของการติดตามผล สัมฤทธิ์ของการพัฒนาฝีมือแรงงาน จำนวนผู้สูงอายุที่ตอบแบบสอบถามผลสัมฤทธิ์ ติดตามผลภายหลังจบการฝึกอบรม ภายใน 3 เดือน (บันทึกผลภายใน 30 ก.ย. 62) X 100 จำนวนผู้สูงอายุที่สำเร็จการฝึกอบรม = ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่สำเร็จการฝึกอบรม มีรายได้เพิ่มมากขึ้น จำนวนผู้สูงอายุที่สำเร็จการฝึกอบรมมีรายได้เพิ่มมากขึ้น ติดตามผลภายหลังจบการฝึกอบรม ภายใน 3 เดือน (บันทึกผลภายใน 30 ก.ย. 62) X 100 จำนวนผู้สูงอายุที่ตอบแบบสอบถามผลสัมฤทธิ์กลับ = เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 แผนการปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ติดตามผลสัมฤทธิ์ผู้สูงอายุที่สำเร็จการฝึกอบรม ได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 จำนวนของผู้สูงอายุที่สำเร็จการฝึกอบรมมีรายได้เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 20 รายงานผลของการปรับปรุง โดยเปรียบเทียบกับก่อนการปรับปรุง และการเปลี่ยนแปลงที่มีแนวโน้มดีขึ้น
ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 Agenda Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติ) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 2.6 : ความสำเร็จของการบรรลุผลสัมฤทธิ์ในโครงการพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติ เพื่อการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คำอธิบาย ความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมาย คือ การพัฒนาบุคลากรภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ บุคลากรทางการศึกษา ซึ่งเป็นครู ผู้สอน วิทยากรหรือหัวหน้างาน ในกลุ่มประเทศ CLMV ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางการค้า การลงทุน ท่องเที่ยว การบริการ โลจิสติกส์ และอุตสาหกรรม เพื่อเป้นความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พิจารณาจากการดำเนินงาน : โดยวัดผลจากผู้จบการฝึกอบรม ในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 – 30 มิถุนายน 2562 และติดตามผลผู้จบการฝึกอบรม ภายในวันที่ 30 กันยายน 2562 โดยใช้แบบสอบถามส่งไปยังผู้จบการฝึกอบรมหลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรมไปแล้วระยะหนึ่ง หลักฐาน : แบบฟอร์มรายงานผลตามแบบรายงานที่กองวิเทศสัมพันธ์กำหนด เจ้าภาพ : กองวิเทศสัมพันธ์ ผู้รับผิดชอบ : นางสาววนิดา แก้วจินดา นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงาน /นางสาวภัทรา งามวิลัย นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงาน โทรศัพท์ : 0 2245 1829 สูตรการคำนวณ (ถ้ามี) 34 ร้อยละของผู้ผ่านการพัฒนาฝีมือที่ใน กลุ่มประเทศ CLMV สามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับผู้รับการฝึกในประเทศของตนเองได้ จำนวนบุคลากรภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และบุคลากรทางการศึกษา ในกลุ่มประเทศ CLMV ที่ผ่านการฝึกอบรม และสามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับผู้รับการฝึกในประเทศของตนเองได้ X 100 จำนวนบุคลากรภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และบุคลากรทางการศึกษา ในกลุ่มประเทศ CLMV ที่ผ่านการฝึกอบรมทั้งหมด เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 ร้อยละ 60 ของผู้ผ่านการพัฒนาฝีมือในกลุ่มประเทศ CLMV สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับผู้รับการฝึกในประเทศของตนเองได้
ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 4 Innovation Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ทุกแห่ง) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 4.1 : ความสำเร็จของการพัฒนานวัตกรรม คำอธิบาย ความสำเร็จของการพัฒนานวัตกรรม คือ การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการระบบงาน งบประมาณ ทรัพยากรบุคคล และการให้บริการประชาชนหรือหน่วยงานของรัฐ เพื่อไปสู่ระบบราชการ 4.0 (Innovation base) ประกอบด้วย 1) นวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เป็นการริเริ่มนโยบาย กฎหมายและกฎใหม่ ๆ ให้ทันสมัยเหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ รวมทั้งให้มีความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ของประเทศ 2) นวัตกรรมให้บริการ (Service Innovation) เป็นนวัตกรรมที่นำมาใช้พัฒนาและสร้างคุณค่าในงานบริการภาครัฐ การปรับปรุงการบริการหรือสร้างบริการใหม่ เพื่อยกระดับประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน เช่น หน่วยบริการเคลื่อนที่ การจัดทะเบียนออนไลน์ เป็นต้น 3) นวัตกรรมการบริหาร/องค์การ/หน่วยงาน (Administrative Organization Innovation) เป็นการสร้างหรือปรับปรุงกระบวนงานใหม่ New Process) รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพ การบริหารงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานของภาครัฐ หรือกระบวนการจัดโครงสร้างหน่วยงานรูปแบบใหม่ หรือการวางระบบใหม่ ซึ่งส่งผลต่อการปรับโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียฝ่ายต่าง ๆ เช่น PMQA 4.0 เป็นต้น พิจารณาจากการดำเนินการพัฒนานวัตกรรมตามขั้นตอนที่กำหนดในแบบฟอร์ม โดยรอบที่ 1 พิจารณาจากข้อมูลตามแบบฟอร์มข้อ 1 : หลักการ เหตุผลความจำเป็น รวมทั้งการศึกษา องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง ข้อ 2 : วัตถุประสงค์ และข้อ3 : การวางแผนพัฒนานวัตกรรม/ขั้นตอนการดำเนินการ โดยดำเนินการระหว่าง วันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 และรอบที่ 2 พิจารณาจากข้อมูลตามแบบฟอร์มข้อ 1 – 3 และ ข้อ 4 : ทดลองปฏิบัติ/ผลลัพธ์ที่คาดหวัง ข้อ 5 : นำไปปฏิบัติ/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงอย่างเป็นรูปธรรม โดยดำเนินการ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน 2562 เงือนไข 1. เป็นนวัตกรรมที่ไม่ซ้ำกับนวัตกรรมที่เคยนำเสนอในตัวชี้วัดครั้งที่ผ่านมา 2. ใช้แบบฟอร์มการรายงานตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนานวัตกรรม ตามที่กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกำหนด 4. หลักฐาน (ถ้ามี) : แบบฟอร์ม เจ้าภาพ : กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ผู้รับผิดชอบ : นางศรีวรรณ ประเสริฐทอง และนางสาวนภารัตน์ ภาโนมัย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม Line : KPI 61 สูตรการคำนวณ (ถ้ามี) : - 35 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 ความสำเร็จของการดำเนินการจัดทำแผนพัฒนานวัตกรรม ความสำเร็จของการพัฒนานวัตกรรมที่มีผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจริงอย่างเป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 4 Innovation Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ทุกแห่ง) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 4.2 : ความสำเร็จของการติดตามผลความพึงพอใจ คำอธิบาย ความสำเร็จของการติดตามผลความพึงพอใจ คือ การติดตามผลความพึงพอใจด้านการฝึกอบรม และติดตามผลความพึงพอใจด้านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ เพื่อวิเคราะห์และปรับปรุงกระบวนการทำงานในด้านการให้บริการของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ความพึงพอใจด้านการฝึกอบรม : พิจารณาจากร้อยละของจำนวนผู้สำเร็จการฝึกอบรมที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในโครงการเพิ่มศักยภาพแรงงานรองรับ Thailand 4.0 โครงการศูนย์ฝึกอบรมเทคโนโลยีชั้นสูงรองรับอุตสาหกรรมแห่งอนาคต โครงการพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของภาคอุตสาหกรรมและบริการ โครงการเพิ่มทักษะกำลังแรงงานในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และโครงการพัฒนาฝีมือแรงงานรองรับ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายและอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก ตามแบบประเมินความพึงพอใจด้านการฝึกอบรมของการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน (QA6221 และ QA6222) ความพึงพอใจด้านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ : พิจารณาจากร้อยละของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ การนับแบบสอบถามความพึงพอใจของกรมผ่าน Application โดยจะไม่นับแบบสอบถามที่ตอบคำถามไม่ครบถ้วน จนไม่สามารถประมวลผลได้ และการรายงานผลผ่านระบบคลังข้อมูล (http://datacenter.dsd.go.th) ด้านการฝึกอบรม กำหนดรอบที่ 1 ผลการดำเนินการระหว่าง วันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 และรอบที่ 2 ผลการดำเนินการ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน 2562 ด้านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ วัดผลการดำเนินรอบที่ 1 ระหว่าง วันที่ 1 มกราคม - 31 มีนาคม 2562 และรอบที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน 2562 6. เจ้าภาพ : การประเมินความพึงพอใจด้านการฝึกอบรม สำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก ผู้รับผิดชอบ : นางเพ็ญประภา ศิริรัตน์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก นางสาวศิริลักษณ์ ประศาสตร์อินทาระ นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการพิเศษ นายกฤษดา ปาโส นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการ และนางสาวนุชจรินท์ สายรัดทอง นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการ โทรศัพท์ : 0 2245 4360 7. เจ้าภาพ : การประเมินความพึงพอใจด้านการทดสอบมาตรฐานฯ สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน ผู้รับผิดชอบ : นางสาวปาริชาติ สิทธิกัน และนายกิตติศักดิ์ แซ่หลี โทรศัพท์ : 0 2354 2081 สูตรการคำนวณ 36 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม = ความพึงพอใจด้านการฝึกอบรม จำนวนผู้สำเร็จการฝึกอบรมที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ X 100 จำนวนผู้สำเร็จการฝึกอบรมทั้งหมด QR Code แบบประเมินความพึงพอใจด้านการฝึกอบรมและการทดสอบมาตรฐาน ร้อยละของการติดตามผลความพึงพอใจด้านการทดสอบมาตรฐาน = จำนวนผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฯ ที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ X 100 จำนวนผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฯ (ระหว่างวันที่ 1 ม.ค.- 30 ก.ย. 62) เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 ติดตามผลความพึงพอใจ ด้านการฝึกอบรม ร้อยละ 80 ติดตามผลความพึงพอใจ ด้านการทดสอบมาตรฐาน ร้อยละ 80 ติดตามผลความพึงพอใจ ด้านการฝึกอบรม ร้อยละ 80 ติดตามผลความพึงพอใจ ด้านการทดสอบมาตรฐาน ร้อยละ 80
ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 4 Innovation Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ทุกแห่ง ) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 4.3 : ความสำเร็จของการติดตามผลสัมฤทธิ์การพัฒนาฝีมือแรงงาน คำอธิบาย ความสำเร็จของการติดตามผลสัมฤทธิ์การพัฒนาฝีมือแรงงาน คือ การที่หน่วยงานดำเนินการติดตามผลสัมฤทธิ์การพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อกรมจะนำข้อมูลไปใช้ในการวิเคราะห์และปรับปรุงการทำงานของกรมให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น พิจารณาจากการติดตามและประเมินผลการฝึกอบรม รายโครงการ แยกตามกิจกรรมฝึกหลัก (เตรียม ยก เสริม) อย่างละไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของผู้สำเร็จการฝึก ใช้แบบสอบถามผลสัมฤทธิ์การพัฒนาฝีมือแรงงานของกรมได้ทั้งเอกสารและผ่าน Application โดยจะไม่นับแบบสอบถามที่ตอบคำถามไม่ครบถ้วน และการรายงานผลผ่านระบบคลังข้อมูล (http://datacenter.dsd.go.th) โดยรอบที่ 1 ผลการดำเนินการระหว่าง วันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 และรอบที่ 2 ผลการดำเนินการ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน 2562 โดยใช้แบบสอบถามผลสัมฤทธิ์การพัฒนาฝีมือแรงงานของกรมทางเว็บไซต์ กองแผนงานและสารสนเทศ เงื่อนไข : 1) กิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งไม่ผ่าน ถือว่าไม่ผ่าน 2) ไม่นับรวมโครงการพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติเพื่อการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขงและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(GMS-ASEAN) 5. เจ้าภาพ : กองแผนงานและสารสนเทศ ผู้รับผิดชอบ : นางสาวนราภรณ์ สุวรรณประเสริฐ/นายสรายุธ ศศิสุวรรณ/นางสาวอารีย์ ชูผึ้ง /นางสาวพงศิยา อ่ำนาคิล โทรศัพท์ : 0 2245 7065 6. สูตรการคำนวณ 37 ร้อยละของการติดตามผล = สัมฤทธิ์การพัฒนาฝีมือแรงงาน จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามผลสัมฤทธิ์การพัฒนาฝีมือแรงงาน รายโครงการ (เตรียม ยก เสริม) X 100 จำนวนผู้สำเร็จการฝึกอบรม รายโครงการ (เตรียม ยก เสริม) QR Code แบบประเมินความพึงพอใจ เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 ติดตามผลสัมฤทธิ์การพัฒนาฝีมือแรงงาน ร้อยละ 40
ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 4 Innovation Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 4.4 : ความสำเร็จของการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อสร้างทัศนคติและจิตสำนึก ด้านการป้องกันและต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ คำอธิบาย ระดับความสำเร็จในการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อสร้างทัศนคติและจิตสำนึกด้านการป้องกันและต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ โดยมีการประกาศเจตจำนงสุจริตของผู้อำนวยการหน่วยงานที่จะปฏิบัติหน้าที่และบริหารหน่วยงานอย่างซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใสและเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของหน่วยงานกำหนดการขับเคลื่อนนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของหน่วยงาน รวมทั้งมีการกำหนดช่องทางการรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของหน่วยงานผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน เช่น กล่องข้อความ , เว็บบอร์ด เป็นต้น และมีการจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานมีทัศนคติและค่านิยมในการปฏิบัติอย่างซื่อสัตย์ สุจริต ความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมาย : รายงานสรุปผลการดำเนินการพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบการดำเนินการ หลักฐาน : 3.1 ประกาศเจตจำนงสุจริตฯ ของผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการหน่วยงานผ่านทางเว็บไซต์หน่วยงาน 3.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประจำหน่วยงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่น รวมทั้ง การเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม โดยจะต้องระบุถึงกิจกรรมที่แสดงถึงการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อให้เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานมีทัศนคติและค่านิยมในการปฏิบัติงาน อย่างซื่อสัตย์สุจริตที่จะดำเนินการ 3.3 เอกสารระบุลิงค์เว็บไซต์ของช่องทางการรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของหน่วยงาน 3.4 แบบรายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายป้องกันการรับสินบนและมาตรการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน ทุก 3 เดือนใน 1 ปีงบประมาณ 3.5 เอกสาร/หลักฐานที่ระบุการจัดกิจกรรมตามที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประจำหน่วยงานกำหนด เช่น รายงานผลการจัดอบรม/สัมมนา , ภาพถ่ายกิจกรรม เป็นต้น 3.6 แบบรายงานสรุปผลการดำเนินการพร้อมเอกสารหลักฐาน 4. กรณีที่มีการย้ายหน่วยงานระหว่างปีงบประมาณในระดับผู้อำนวยการให้ดำเนินการประกาศเจตจำนงสุจริตฯ ของหน่วยงานที่ไปดำรงตำแหน่งใหม่ด้วย เช่น รอบการประเมินที่ 1 (1 ตค. 60- 31 มีค 62) ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการหน่วยงาน A ได้ดำเนินการประกาศเจตจำนงสุจริตฯ เรียบร้อยแล้ว ต่อมารอบการประเมินที่ 2 (1 เมย – 30 กย 62) ได้มีคำสั่งย้าย ไปปฏิบัติหน้าที่ ณ หน่วยงาน B จะต้องดำเนินการประกาศเจตจำนงสุจริตฯ ในฐานะผู้อำนวยการของหน่วยงาน B เป็นต้น รวมทั้งกรณีการย้ายในรอบการประเมินนั้น ๆ ด้วย เจ้าภาพ : กองบริหารทรัพยากรบุคคล ผู้รับผิดชอบ : นายสง่า แสนเดช , นายพรรษา กุลวราภรณ์ โทรศัพท์ : 0 2245 3579 38 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 เอกสารหลักฐาน ตามข้อ 3.1 – 3.6
ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 5 Potential Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 5.1 : ความสำเร็จของการจัดทำรายงานงบการเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 คำอธิบาย 1. ความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมาย คือ การจัดทำรายงานงบการเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานประจำเดือนของหน่วยงานจำนวน 12 เดือน ได้อย่างถูกต้องตามหลักการบัญชี ไม่น้อยกว่า 10 เดือน พิจารณาจากการจัดทำรายงานงบการเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานประจำเดือนของหน่วยงานได้อย่างถูกต้องตามหลักการบัญชี หลักการบัญชี คือ แนวทางที่ให้นักบัญชียึดถือเป็นหลักปฏิบัติในการรวบรวม จดบันทึก จำแนก สรุปผลและจัดทำงบการเงินอย่างมีหลักเกณฑ์ตามมาตรฐาน โดยใช้หลักการบัญชีคู่ (เดบิต เครดิต) ในการบันทึกบัญชีตามขั้นตอน ประกอบด้วย 1) บันทึกรายการรับ จ่าย โอนเงิน และปรับปรุงบัญชีในใบสำคัญการลงบัญชี 2) ผ่านรายการในใบสำคัญการลงบัญชีไปยังบัญชีแยกประเภท 3) สรุปยอดจากบัญชีแยกประเภทนำมาจัดทำงบการเงิน โดยรอบที่ 1 พิจารณาจากผลการดำเนินการระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 และรอบที่ 2 พิจารณาจากผลการดำเนินการระวห่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน 2562 ตัวอย่างการจัดทำงบการเงินไม่ถูกต้อง 1) จัดทำงบการเงินโดยนำตัวเลขจากรายรับ-รายจ่ายมาบันทึกในแบบฟอร์มงบการเงิน โดยไม่ได้จัดทำบัญชีตามหลักการบัญชี 2) ไม่บันทึกบัญชีหรือบันทึกบัญชีไม่ครบถ้วนตามรายการที่เกิดขึ้นจริง เช่น รับเงินค่าทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จำนวน 200 บาท แต่ไม่มีการบันทึกบัญชี หรือบันทึกบัญชีเพียง 100 บาท 3) บันทึกบัญชีผิดประเภท เช่น โอนเงินรายได้กลับส่วนกลาง หน่วยงานบันทึกบัญชีด้วยชื่อบัญชีรายได้ซึ่งไม่ถูกต้อง ที่ถูกต้องคือชื่อบัญชีเงินโอน 3. เงื่อนไข 1. รายงานงบการเงินประจำเดือนในระบบรายงานข้อมูลกองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://eit.dsd.go.th/cat3) ภายในวันที่ 3 ของเดือนถัดไป 2. จัดส่งรายงานงบการเงินและรายละเอียดประกอบงบประจำเดือนให้กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป 3. กรณีหน่วยงานไม่ดำเนินการตามเงื่อนไขในข้อ 1 และ 2 ถือว่าไม่ผ่านตัวชี้วัด 4. หลักฐาน (ถ้ามี) : - 5. เจ้าภาพ : กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ผู้รับผิดชอบ : นางกานต์รวี ปานดำ/นางสาวภัคธีมา มิ่งขวัญ/นางสาวพิมพร พ่วงนุ้ย โทรศัพท์ : 0 2245 3649, 0 2245 3217 6. สูตรการคำนวณ (ถ้ามี) : - 39 เป้าหมายตามรอบประเมินที่.......... ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 การจัดทำรายงานงบการเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานประจำเดือนของหน่วยงานได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ไม่น้อยกว่า 5 เดือน การจัดทำรายงานงบการเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานประจำเดือนของหน่วยงานได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ไม่น้อยกว่า 10 เดือน
ตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 5 Potential Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน) การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 5.2 : ความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานภาพรวม ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 คำอธิบาย 1. ความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมาย คือ การเบิกจ่ายเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานของหน่วยงานตามที่ได้รับจัดสรรเพื่อดำเนินการตามภารกิจกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน หมายเหตุ เงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานที่หน่วยงานได้รับทั้งหมด หมายถึง 1) เงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานที่หน่วยงานได้รับจัดสรรประจำปี 2) เงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานที่หน่วยงานขอรับจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปี โดยต้องเบิกจ่ายภายใน 15 วันทำการ นับแต่วันที่ได้รับเงิน 3) เงินที่ได้รับจัดสรรตามข้อ 1) หากไม่มีเหตุให้เบิกจ่าย ต้องส่งคืนเงินภายในวันที่ 31 มี.ค. 2562 พร้อมชี้แจงเหตุผล หากส่งคืนภายในเวลาที่กำหนดไม่นำมานับรวมเป็นเงินที่หน่วยงานได้รับจัดสรรทั้งหมด แต่ถ้าส่งคืนเกินระยะเวลาที่กำหนดนำมานับรวมเป็นเงินที่หน่วยงานได้รับจัดสรรทั้งหมด โดยรอบที่ 1 ผลการดำเนินการระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 และรอบที่ 2 ผลการดำเนินการระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน 2562 พิจารณาจากผลการเบิกจ่ายเงินกองทุนฯ ที่รายงานในระบบรายงานข้อมูลกองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://eit.dsd.go.th/cat3) ตามที่หน่วยงานได้รับจัดสรรตามเกณฑ์ที่กำหนด 3. เงื่อนไข : หากหน่วยงานไม่ดำเนินการตามข้อ 2) และ 3) ถือว่าไม่ผ่านตัวชี้วัด 4. หลักฐาน (ถ้ามี) : - 5. เจ้าภาพ : กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ผู้รับผิดชอบ : นางกานต์รวี ปานดำ/นางสาวจิรัปภา ปิยะไพร/นางสาวสุรภา พ้นโศรก โทรศัพท์ : 0 2245 3217, 0 2245 3649 6. สูตรการคำนวณ : 40 เงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานที่หน่วยงานเบิกจ่ายภาพรวม (พิจารณาจาก cat3) X 100 เงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานที่หน่วยงานได้รับทั้งหมด เป้าหมายตามรอบประเมินที่.......... ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 เบิกจ่ายเงินกองทุนฯไม่น้อยกว่า ร้อยละ 54 เบิกจ่ายเงินกองทุนฯภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 100
ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 5 Potential Based (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน/สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน 77 แห่ง) การปฏิบัติราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 5.3 : ความสำเร็จของการดำเนินการจัดตั้งศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติที่ได้รับอนุญาต คำอธิบาย ความสำเร็จของของการดำเนินการการจัดตั้งศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ พิจารณาจากการจัดตังศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน สาขาใหม่ หรือเพิ่มระดับ จำนวนอย่างน้อย 1 สาขาหรือ 1 ระดับ ของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน/สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน รอบที่ 1 ในระหว่างวันที่ 1 ตค. 2561 – 31 มีนาคม 2562 และรอบที่ 2 ระหว่างเดือน 1 เมษายน – 30 กันยายน 2562 เงื่อนไข ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติที่ได้รับอนุญาตบันทึกข้อมูลลงในระบบ Data Center และบันทึกการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานทั้งที่จัดตั้งแล้ว และจัดตั้งในปีงบประมาณ 2562 เอกสารในการพิจารณา ครึ่งปีแรก 1. เอกสารที่เกี่ยวกับการประชุมชี้แจงหรือสัมมนา 2. รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุมชี้แจงหรือสัมมนา 3. รูปภาพประกอบการประชุมชี้แจง หรือสัมมนาหรือข่าวประชาสัมพันธ์ ครึ่งปีหลัง 1. การบันทึกข้อมูลศูนย์ทดอบฯที่ได้รับอนุญาตในระบบ Data Center 2.การบันทึกข้อมูลการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ของศูนย์ทดสอบที่ได้รับอนุญาตที่จัดตั้งแล้วและจัดตั้งใหม่ในปีงบประมาณ 2562 ที่มีการดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงานในระบบ Data Center 5. เจ้าภาพ : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน ผู้รับผิดชอบ : นางอุษา ศิริสนธิวรรธน นายธงชัย จิตต์หาญ : 0 2245-4837 41 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 60 ปี 61 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. เป้าหมาย ปี 62 เอกสารหรือภาพประกอบที่เกี่ยวข้องกับการประชุมชี้แจง/สัมมนา/แนะนำหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่ขอจัดตั้งเป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติที่ได้รับอนุญาติ บันทึกข้อมูลศูนย์ทดสอบที่ได้รับอนุญาตในระบบ Data Center บันทึกข้อมูลผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติของแต่ละศูนย์ทดสอบฯ ที่ได้รับอนุญาตที่มีการดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงานในระบบ Data Center
การปฏิบัติราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 5 Potential Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน 77 แห่ง) การปฏิบัติราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 5.4 : ความสำเร็จของการดำเนินการขอรับเครื่องหมายมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ของสถานประกอบกิจการ คำอธิบาย ความสำเร็จของของการดำเนินการขอรับเครื่องหมายมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติของสถานประกอบกิจการ พิจารณาจากจำนวนเครื่องหมายมาตรฐานฝีมือแรงงานที่สถานประกอบกิจการขอรับจากสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน/สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ที่ขอรับเครื่องให้สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน อย่างน้อย 1 แห่ง รอบที่ 1 ในระหว่างวันที่ 1 ตค. 2561 – 31 มีนาคม 2562 และรอบที่ 2 ระหว่างเดือน 1 เมษายน – 30 กันยายน 2562 3. เงื่อนไข 1. ระยะเวลาการพิจารณาขออนุมัติออกหนังสือรับรองเครื่องหมายมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ไม่เกิน 15 วัน ในกรณีหลักฐานครบถ้วน 2. ส่งเอกสารให้สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงานพิจารณาภายใน 30 สิงหาคม 2562 4. เอกสารในการพิจารณา ครึ่งปีแรก 1. เอกสารการประชุม 2.รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุมหรือสัมมนาชี้แจงสถานประกิจการหรือหน่วยงานภาครัฐ 3. ภาพประกอบการประชุม ครึ่งปีหลัง 1. หนังสือออกเครื่องหมายมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2562 5. เจ้าภาพ : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน ผู้รับผิดชอบ : นางอุษา ศิริสนธิวรรธน นายธงชัย จิตต์หาญ : 0 2245-4837 42 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. เป้าหมาย ปี 62 พิจารณาจากการประชุมชี้แจง/สัมมนา/แนะนำสถานประกอบกิจการ นายทะเบียนออกหนังสือรับรองเครื่องหมายมาตรฐานฯ (ส่งให้สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงานพิจารณาภายใน 30 ส.ค. 2562 กรณีเอกสารครบถ้วน)
ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 5 Potential Based (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน 77 แห่ง) การปฏิบัติราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 5.5 : ความสำเร็จของการจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานของผู้ประกอบอาชีพ ของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานและสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานของผู้ประกอบอาชีพ ของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานและสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน หมายความว่าการดำเนินการจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานของผู้ประกอบอาชีพของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน และสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน จำนวน 1 สาขา หรือ 1 ตำแหน่ง นำเสนอผ่านการกลั่นกรองของคณะอนุกรรมการกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติที่เกี่ยวข้องกับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน มาตรา 26 และนำเสนอคณะกรรมการส่งเสริมฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบ พิจารณาจากการดำเนินงานที่บรรลุเป้าหมาย จำนวน 1 สาขา หรือ 1 ตำแหน่ง รอบที่ 1 ผลการดำเนินการระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 รอบที่ 2 ผลการดำเนินการระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน 2562 3. เจ้าภาพ : กลุ่มงานกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน ผู้รับผิดชอบ : นายจิตรพงศ์ พุ่มสะอาด นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการพิเศษ และนายบัญชา พิสุทธิวัฒน์ นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงาน โทรศัพท์ : 0 2643 4987 และ 0 2245 1822 43 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 ร่างมาตรฐานฝีมือแรงงานของผู้ประกอบอาชีพ (ตามรายละเอียดรายการที่แนบ) นำมาตรฐานฝีมือแรงงาน เสนอคณะกรรมการส่งเสริมฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบ
การปฏิบัติราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 5 Innovation Base (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานและสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน) การปฏิบัติราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 5.6 : ความสำเร็จของการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ หมายความว่า การดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ โดยให้ดำเนินการตามระบบการประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ พิจารณาจากการผลการดำเนินงานและวิธีการดำเนินงานการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ที่บรรลุเป้าหมายตามภารกิจและวัตถุประสงค์ของโครงการ รอบที่ 1 ข้อมูล ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2562 และรอบที่ 2 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 การประเมินผลการให้คะแนนจากการดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 1 ดำเนินการทดสอบภาคความรู้ด้วยระบบ e – Testing ทุกรุ่นและสาขาอื่นอีกอย่างน้อย 1 สาขา โดยทำการประเมินตามข้อกำหนดการปฏิบัติงานประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ 4. เจ้าภาพ : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน กลุ่มงานพัฒนาระบบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ผู้รับผิดชอบ : นางสาวปาริชาติ สิทธิกัน นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการ และนายกิตติศักดิ์ แซ่หลี นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานปฏิบัติการ โทรศัพท์ : 0 2354 0281 และ 0 2245 1707-8 ต่อ 703 44 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 การประเมินผลการให้คะแนนจากการดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 1 จำนวน 1 รุ่น และสาขาอื่นอีกจำนวน 1 รุ่น โดยทำการประเมินตามข้อกำหนด การปฏิบัติงานประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ได้ไม่น้อยกว่า 20 ข้อกำหนด และต้องดำเนินการทดสอบภาคความรู้ด้วยระบบ e – Testing การประเมินผลการให้คะแนนจากการดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 1 จำนวน 1 รุ่น และสาขาอื่นอีกจำนวน 1 รุ่น โดยทำการประเมินตามข้อกำหนด การปฏิบัติงานประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ได้ไม่น้อยกว่า 20 ข้อกำหนด และต้องดำเนินการทดสอบภาคความรู้ด้วยระบบ e – Testing ซึ่งต้องไม่ซ้ำกับรอบ 6 เดือนแรก
การปฏิบัติราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 5 Potential Base (สถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สำหรับอุตสาหกรรมบริการสุขภาพ) การปฏิบัติราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัด 5.6 : ความสำเร็จของการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ หมายความว่า การดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ โดยให้ดำเนินการตามระบบการประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ พิจารณาจากการผลการดำเนินงานและวิธีการดำเนินงานการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ที่บรรลุเป้าหมายตามภารกิจและวัตถุประสงค์ของโครงการ รอบที่ 1 ข้อมูล ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2562 และรอบที่ 2 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 การประเมินผลการให้คะแนนจากการดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ดำเนินการทดสอบภาคความรู้ด้วยระบบ e – Testing ทุกรุ่น อย่างน้อย 2 สาขา โดยทำการประเมิน ตามข้อกำหนดการปฏิบัติงานประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ เจ้าภาพ : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน กลุ่มงานพัฒนาระบบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ผู้รับผิดชอบ : นางสาวปาริชาติ สิทธิกัน นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการ และนายกิตติศักดิ์ แซ่หลี นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานปฏิบัติการ โทรศัพท์ : 0 2354 0281 และ 0 2245 1707-8 ต่อ 703 45 เป้าหมายตามรอบประเมิน ปี 61 ปี 62 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รอบที่ 1 มี.ค. (6 เดือน) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. รอบที่ 2 ก.ย. (12 เดือน) เป้าหมาย ปี 62 การประเมินผลการให้คะแนนจากการดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จำนวน 2 สาขา (สาขาพนักงานนวดไทย จำนวน 1 รุ่น และสาขาอื่นๆ จำนวน 1 รุ่น) โดยทำการประเมินตามข้อกำหนดการปฏิบัติงานประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ได้ไม่น้อยกว่า 20 ข้อกำหนด และต้องดำเนินการทดสอบภาคความรู้ด้วยระบบ e – Testing การประเมินผลการให้คะแนนจากการดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จำนวน 2 สาขา (สาขาพนักงานนวดไทย จำนวน 1 รุ่น และสาขาอื่นๆ จำนวน 1 รุ่น) โดยทำการประเมินตามข้อกำหนดการปฏิบัติงานประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ได้ไม่น้อยกว่า 20 ข้อกำหนด และต้องดำเนินการทดสอบภาคความรู้ด้วยระบบ e – Testing ซึ่งต้องไม่ซ้ำกับรอบ 6 เดือนแรก