การตัดต่อ EDIT E : Elect : เลือก shot ที่ดีที่สุด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
ผู้จัดทำ ด. ช. พีรวิทย์ ขาสัก เลขที่ ด. ช. ปรเมษ พยัคฆันตร์ เลขที่ 18 ชั้น.. ม.1/10 โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน ครับบบ...
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
การใช้กราฟิก Cycle Graph
บทที่ 4 การนำเสนองาน.
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
1. รู้ถึงความต้องการของตัวเอง ก่อนก่อนเริ่มต้นออกแบบ เมื่อคุณเริ่มคิดจะออกแบบโบรชัวร์ออกมาอย่างไร ให้เริ่มต้น สอบถามลูกค้าของคุณก่อนว่าทำไม เค้าต้องการโบร์ชัวร์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
หลักเกณฑ์และศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการตัดต่อภาพยนตร์
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Scene Design and Lighting Week1-3
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ยินดีต้อนรับสู่ PowerPoint
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
การเขียนและการจัดทำข่าวประชาสัมพันธ์ทางหนังสือพิมพ์
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
SMS News Distribute Service
ความหมายของเรียงความ
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
Storyboard คืออะไร.
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Storyboard คืออะไร.
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ประเภทรายการและรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
เล่าเรื่องอย่างผู้นำ Coaching by story
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
Unit2หลักการตัดต่อและลำดับภาพ
หลักการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตัดต่อ EDIT E : Elect : เลือก shot ที่ดีที่สุด D : Decision : ตัดสินใจ อย่าเสียดาย shot I : Integrate : นำ shot มาร้อยเรียง เชื่อมโยงผสมผสาน T : Terminate : ทำให้สิ้นสุด จบลงด้วยดี

การตัดต่อ Editing คือ การนำเสนอภาพหลายภาพมาประกอบกันให้เป็นเรื่องราว โดยการนำรายละเอียดของภาพและเหตุการณ์ที่สำคัญจากม้วนเทปที่ได้บันทึกไว้หลายๆม้วน มาทำการเลือกสรรภาพใหม่ เพื่อเรียงลำดับให้ได้เนื้อหาตามบท ภาพแต่ภาพที่นำมาลำดับไม่จำเป็นต้องสำคัญเท่ากันทุกภาพ ความสำคัญอาจจะลดหลั่นลงไปตามเนื้อหา ภาพบางภาพเป็นหัวใจของการเกิดของเหตุการณ์ แต่บางภาพอาจเป็นส่วนประกอบ

การตัดต่อภาพแต่ละครั้งจะทำให้ผู้ชมถูกกระตุ้นความรู้สึกขึ้นครั้งหนึ่ง แล้วความรู้สึกนั้นค่อยๆ ลดลง จนกระทั่งมีการตัดภาพใหม่อีกครั้งหนึ่ง ถ้าความยาวของภาพพอเหมาะ อารมณ์ของผู้ชมจะถูกกระตุ้นตามจังหวะ ถ้าความยาวของภาพมากไป อารมณ์ของผู้ชมจะราบเรียบไม่ตื่นเต้น

การตัดต่อ มี 4 วิธี คือ 1. การเชื่อมภาพ (Combine) เป็นการนำภาพที่ถ่ายไว้ทั้งหมดมาเรียงลำดับ โดยการเชื่อมภาพหรือ shot แต่ละ shot เข้าด้วยกันตามลำดับให้ถูกต้องตามบทโทรทัศน์ การเชื่อมภาพส่วนใหญ่จะใช้ในการผลิตนอกสถานที่ที่ใช้กล้องโทรทัศน์ตัวเดียว สำหรับงานที่ผลิตในสตูดิโอที่มีกล้องหลายตัว ส่วนใหญ่มักจะเชื่อมภาพระหว่างการถ่ายทำ แต่ก็มีบ้างที่มาเชื่อมหลังการถ่ายทำ

2. การย่นย่อภาพ (Condense) เป็นการตัดต่อภาพเพื่อให้ได้เนื้อหาที่ต้องการจะสื่อสารในเวลาที่จำกัด เช่น การตัดต่องานข่าว โฆษณา การตัดต่อเพื่อย่นย่อภาพนี้ เนื้อหาของภาพจะต้องกระชับ และได้ใจความในเวลาที่จำกัด ฉะนั้นผู้ตัดต่อต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์อย่างมากในการย่นย่อภาพ เพื่อให้ได้ความหมายที่ชัดเจนที่สุดเพื่อเสนอต่อผู้ชม

3. การแก้ไขภาพ (Correct) เป็นการแก้ไขส่วนที่ผิดพลาดในการผลิต โดยการตัดภาพหรือเสียงที่ไม่ต้องการออกไป หรือแทรกภาพใหม่และเสียงใหม่เข้าไปแทนที่ภาพและเสียงเดิมได้ นอกจากนั้นความผิดพลาดที่เกิดจากสีและระดับเสียงที่เกิดจากการถ่ายแต่ละครั้ง (Take) แต่ละวันไม่เท่ากัน หรือความไม่ต่อเนื่องของภาพ (Continuty) ทิศทางของภาพ (Directional) ไม่ถูกต้อง การตัดต่อสามารถแก้ไขได้

4. การสร้างภาพ (Build) เป็นการตัดต่อโดยใช้อุปกรณ์พิเศษของเครื่องตัดต่อ เช่น การทำภาพจาง (Fade) ภาพจางซ้อน (Dissolve) กวาดภาพ (Wipe) หรือเทคนิคอื่นๆ เข้าช่วย เพื่อให้ผู้ชมเกิดความรู้สึกว่าฉากนี้ได้เปลี่ยนเวลา เปลี่ยนสถานที่ เปลี่ยนสถานการณ์แวดล้อม

ระบบการตัดต่อ มี 2 แบบ คือ ระบบ Linear และ Non-Linear Linear : ตัดต่อโดยใช้เครื่องเล่น (player) และบันทึกวิดีโอเทป (recorder) : การลำดับภาพต้องทำไปตามลำดับก่อน-หลังของเนื้อหาตั้งแต่ต้นจนจบ : ถ้าต้องการจะแก้ไขงานในจุดใดจุดหนึ่ง ซึ่งจะทำให้ความยาวของเทปเปลี่ยนไป ต้องลำดับภาพใหม่ตั้งแต่จุดนั้นไปจนถึงจุดสุดท้าย : เป็นการลำดับภาพโดยใช้เทปเป็นหลัก

Non-Linear : ตัดต่อบนเครื่องคอมพิวเตอร์ : การลำดับภาพโดยใช้ฮาร์ทดิสก์เป็นหลัก

ข้อดีของระบบ Non-Linear ลงทุนต่ำ ค้นหาและคัดเลือกภาพได้สะดวกรวดเร็ว ไม่ต้องกรอกลับไป-มาเหมือนเทป เลือกทำงานเป็นช่วงได้ตามอิสระ ไม่ต้องทำตามลำดับก่อนหลังตั้งแต่ต้นจนจบ ไม่เสียความคมชัดของภาพ

ขั้นตอนการตัดต่อด้วยระบบ Non-Linear เลือกภาพที่ต้องการจะนำมาใช้ นำเอาภาพเข้าไปเก็บในฮาร์ทดิสก์ : capture หรือ digitise ตัดต่อ นำงานที่อยู่ในเครื่องตัดต่อลงเทป

การจด Time code (TC) เพราะเราไม่สามารถเห็นเฟรมต่างๆในวิดีโอเทปได้ เราจึงต้องใช้สัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า “Time code” เพื่อจะได้รู้ว่าภาพที่เราเห็นอยู่นั้นอยู่ตรงไหน และมีความยาวเท่าไหร่ โดยจะบอกตัวเลขเป็น ชั่วโมง : นาที : วินาที : เฟรม เช่น 01 : 10 : 15 : 25

Transitions Fade : ภาพจาง : มี 2 แบบ คือ : มี 2 แบบ คือ Fade in การเชื่อมภาพที่เปลี่ยนจากจอมืดมาเป็นภาพ Fade out การเปลี่ยนจากภาพมาเป็นจอมืด : มักใช้ตอนเริ่มต้นและตอนจบของรายการ : บอกถึงการเปลี่ยนฉาก , เวลาผ่านไปแล้ว

Wipe : การกวาดภาพ : การเชื่อมภาพ 2 ภาพบนหน้าจอ โดยภาพที่ 1 ถูกแทนที่ด้วยภาพที่ 2 : เลือกจาก Wipe Pattern ให้เลือกใช้ เช่น รูปแบบสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม ข้าวหลามตัด ฯลฯ

Dissolve : ภาพจางซ้อน : นำ 2 ภาพมาซ้อนกัน ภาพหนึ่งค่อยๆ จางออกไป ในขณะที่อีกภาพหนึ่งค่อยๆ จางเข้ามาแทนที่ : แสดงถึงกาลเวลาที่ผ่านไป : mix / lap-dissolve

Cut : การนำภาพมาเรียงต่อกันอย่างรวดเร็ว : เป็นการเชื่อมต่อภาพที่ใช้บ่อยมากที่สุด

การตัดต่อแบบต่างๆ Reaction Shot : ได้จากการ insert ภาพ Over Re-action : แบบเกินจริง ตัดซ้ำๆๆ อย่างตั้งใจ Quick Cut : ตัดแบบเร็วๆ เพื่อดึงความสนใจและให้กระชับ

Cut on Action : ตัดระหว่างเคลื่อนไหว : การเปลี่ยน shot ขณะที่คนกำลังจะนั่งลงหรือกำลังจะลุกขึ้น แล้วตัดภาพไปรับที่ shot ใหม่อีกมุมหนึ่งในกิริยาที่ต่อเนื่องกัน Split Edit : ตัดโดยให้เสียงหรือภาพมาก่อน แทนที่จะให้เสียงและภาพเปิดขึ้นมาพร้อมกัน

การเกิดภาพกระโดด (Jump Cut) การที่มีบางภาพหายไปจากกลาง shot ที่ควรจะเชื่อมระหว่าง shot แรก กับ shot สุดท้าย ทำให้ภาพดูไม่ต่อเนื่องกัน การตัดภาพที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันมาก บุคคลคนเดียวกัน ขนาดภาพเท่ากัน การตัดภาพที่มีขนาดต่างกันมาก เช่น จากภาพ VLS เป็น CU