วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
S OFTWARE จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ สุขมิลินท์ เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3.
Software Development and Management
การรายงานผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
การออกแบบและเทคโนโลยี
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
Material requirements planning (MRP) systems
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
อยู่ระหว่างดำเนินการ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
Software Engineering ( )
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การเขียนหัวข้อ (Proposal) ที่ดี
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
Workshop Introduction
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ADDIE model หลักการออกแบบของ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา 4123502 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering) วัตถุประสงค์การเรียนรู้ แนะนำเนื้อหาในรายวิชา และ กำหนดข้อตกลงที่ใช้ในการเรียนการสอน แนะนำพื้นฐานของซอฟต์แวร์และวิศวกรรมซอฟต์แวร์

คำอธิบายรายวิชา เนื้อหาวิชาครอบคลุมพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สำหรับวิศวกรรมซอฟต์แวร์โดย เรียนรู้กระบวนการพัฒนาและ วัฏจักรในการพัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่งมุ่งเน้นไปที่ การนำหลักการเชิงวัตถุมาใช้กับรูปแบบการพัฒนาซอฟต์แวร์ รวมทั้ง ครอบคลุมถึงกลยุทธ์ต่างๆ ที่ใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์

ข้อตกลงในชั้นเรียน เวลาเข้าเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย

ข้อตกลงในการกำหนดคะแนน ระหว่างภาค (70%) แบ่งเป็น ความสนใจ (การเข้าเรียน จริยธรรม และ การแต่งกาย) 10% งานที่ได้รับมอบหมาย 30% สอบกลางภาค 30% ปลายภาค (30%) สอบปลายภาค 30%

ระดับการประเมินผล (อิงเกณฑ์) 80-100 A 75-79 B+ 70-74 B 65-69 C+ 60-64 C 55-59 D+ 50-54 D 0-49 E

เรียนอะไรในวิชา สอบกลางภาค สอบปลายภาค บทนำ-วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Introduction to Software Engineering) ภาพรวมของกระบวนการ (A Generic View of Process) แบบจำลองกระบวนการพัฒนาระบบ (Process Model) การประมาณการซอฟต์แวร์ (Software Estimation) วิศวกรรมความต้องการ (Requirement Engineering) การสร้างแบบจำลองการวิเคราะห์ (Analysis Model) การวิเคราะห์เชิงวัตถุ (Object Oriented Analysis) วิศวกรรมการออกแบบ (Design Engineering) การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้ (User Interface Design) การทดสอบซอฟต์แวร์ (Testing) สอบกลางภาค สอบปลายภาค

หนังสือที่ใช้ในการทบทวน วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering) Roger S. Pressman แปลโดย ผศ.ดร.พรฤดี เนติโสภากุล หลักการพื้นฐานของวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ผศ.ดร. น้ำฝน อัศวเมฆิน

Introduction วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering) มุมมองทางการศึกษาในแง่ของสาขาวิชา ในปี ค.ศ. 1968 คำว่า”วิศวกรรมซอฟต์แวร์(software engineering)” ถูกใช้อย่าง แพร่หลายเพื่อแสดงถึงกิจกรรมต่างๆที่รวมถึงการเขียนโปรแกรม (programming) และ การรหัส(coding) [Macro, 1987]. ก่อนปี ค.ศ. 1974 สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ยังไม่ ปรากฏ [Barnes, 1998]. สถาบันเทคโนโลยีโรเชสเตอร์ (The Rochester Institute of Technology (RIT)) ในประเทศสหรัฐอเมริกาได้อ้างว่าเป็นสถาบันแรกที่แนะนำหลักสูตร ปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ [Lutz, 1999].

วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering) วิศวกรรมซอฟต์แวร์ คือกระบวนการสร้างสรรค์โปรแกรมโดยใช้หลักทาง วิศวกรรมเข้ามาช่วยในการดำเนินการสร้าง (อ.สมหมาย สุขคำ) “Software Engineering is systematic approach to the development operation , maintenance , retirement of software” (IEEE 83b) “วิชาการว่าด้วยการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ตลอดจนการบริหารงาน การพัฒนาเพื่อที่จะได้มาซึ่ง ผลิตผลซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพสูง ราคาถูก และ ภายในเวลาที่กำหนดให้” (สุชาย ธนวเสถียร)

วิทยาการคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) อยู่บนรากฐานของวิทยาศาสตร์ ซึ่งเน้นการทำความเข้าใจและค้นหาความจริง เกี่ยวกับความรู้ทางคอมพิวเตอร์ เพื่อสร้างแนวคิด/ทฤษฎีใหม่ หรือ ปฏิเสธ แนวคิด/ทฤษฎีเดิม และขยายวงความรู้ให้กว้างขึ้นจากแนวคิด/ทฤษฎีที่มีอยู่ * ผลงานถูกพิจารณา หรือ ตัดสินโดยกลุ่มนักวิทยาศาสตร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering) อยู่บนรากฐานของวิธีการทางวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งประยุกต์แนวคิด/ทฤษฎี ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีขณะนั้นในการสร้างผลิตภัณฑ์ ที่เป็นประโยชน์และปลอดภัยต่อสาธารณะ * ผลงานถูกพิจารณา หรือ ตัดสินโดยกลุ่มผู้ใช้

ลักษณะของวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรแกรมขนาดใหญ่ สามารถจัดการเกี่ยวกับความซ้ำซ้อนได้ เน้นการทำงานร่วมกันของบุคลากร สามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายเมื่อจำเป็น เน้นการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ สนองความต้องการของผู้ใช้

องค์ประกอบของการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิศวกรรมซอฟต์แวร์เป็นกระบวนการผลิต (production) ที่ประกอบด้วย กิจกรรมช่วงต่างๆ เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ (software products) การ ทำกิจกรรมในแต่ละช่วงอาศัยเทคนิคและเครื่องมือช่วยต่างๆ (support tools) ที่นักวิชาการคอมพิวเตอร์และนักวิจัยได้เสนอไว้

องค์ประกอบของการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ Software production processes Software products Support tools /Environments Market places / users

คุณลักษณะของกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ Understandability : มีการนิยามขอบเขตของกระบวนการที่ชัดแจ้งและง่าย ต่อการเข้าใจ Visibility : ทำให้กิจกรรมกระบวนการชัดเจนที่สุดเพื่อสามารถมองเห็นจาก ภายนอกได้ชัดเจน Supportability : เครื่องมือช่วยการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (CASE)สามารถ ช่วยสนับสนุนกิจกรรมกระบวนการในขอบเขตใด

คุณลักษณะของกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ Acceptability : กระบวนการที่กำหนดสามารถยอมรับและใช้โดยวิศวกร ซอฟต์แวร์ในการผลิตผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ Reliability : กระบวนการถูกออกแบบในแนวทางซึ่งความผิดพลาดของ กระบวนการถูกหลีกเลี่ยงก่อนที่จะส่งผลต่อความผิดพลาดของผลิตภัณฑ์ ซอฟต์แวร์ Robustness : กระบวนการสามารถทำงานต่อได้แม้นว่ามีปัญหาที่ไม่ คาดการณ์เกิดขึ้น

คุณลักษณะของกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ Maintainability : กระบวนการสามารถวิวัฒนาการเพื่อตอบสนองการ เปลี่ยนแปลงความต้องการขององค์กร Rapidity : กระบวนการสามารถทำให้ส่งมอบผลิตภัณฑ์ได้เร็วนับจากที่ รูปแบบคุณลักษณะของซอฟต์แวร์(Software specifications) ถูกกำหนด

Introduction ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้ คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียน ขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ หมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทำให้ คอมพิวเตอร์ทำงานได้

Introduction คุณสมบัติของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ถูกพัฒนาหรือจัดการให้เกิดขึ้น ซอฟต์แวร์ไม่สึกหรอ ถูกสร้างตามแบบที่ลูกค้าต้องการ (Custom build)

ซอฟต์แวร์ (software) ชนิดของซอฟต์แวร์ หากแบ่งแยกชนิดของซอฟต์แวร์ตามสภาพการทำงาน แบ่งแยก ซอฟต์แวร์ได้เป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software)

ซอฟต์แวร์ (software) ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับ ระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบคือดำเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปล ความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือ นำออกไปยังเครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำ รอง

ซอฟต์แวร์ (software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความ ต้องการของผู้ใช้ ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบันมีผู้พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจำหน่ายมาก การประยุกต์งาน คอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลาย เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ ออกเป็นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สำเร็จ และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งาน เฉพาะ

ซอฟต์แวร์ (software)

ซอฟต์แวร์ (software) ชนิดของซอฟต์แวร์ ในปัจจุบัน สามารถแบ่งลักษณะของซอฟต์แวร์ออกเป็น 7 ประเภท ดังนี้ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) 3. ซอฟต์แวร์เชิงวิศวกรรม/วิทยาศาสตร์ (Engineering/Scientific Software) 4. ซอฟต์แวร์ฝังตัว (Embedded Software)

ซอฟต์แวร์ (software) 5. ซอฟต์แวร์สายการผลิต (Product-line Software) 6. เว็บแอพพลิเคชั่น (Web-application) 7. ซอฟต์แวร์ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence Softwear)

Group Discussion แบ่งกลุ่มย่อย ให้นักศึกษาฝึกคิดและวิเคราะห์ รูปแบบ ชนิดของซอฟต์แวร์ประเภทต่างๆของ ซอฟต์แวร์ในปัจจุบัน โดยบอกถึงจุดเด่นจุดด้อย ความสำคัญ และยกตัวอย่าง พอสัเขป