วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Advertisements

Chapter 1 Introduction to Information Technology
Central Processing Unit
ชุดที่ 2 Hardware.
1.
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เอกสารประกอบการบรรยาย (2)
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การบำรุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์
ทุกท่าน ด้วยความยินดียิ่ง ศูนย์คอมพิวเตอร์สารสนเทศ วิทยาลัยการปกครอง
Computer Components โครงสร้างคอมพิวเตอร์ และภาษาแอสเซมบลี้
โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Welco me to. วัตถุประสงค์ :  เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการใช้ คอมพิวเตอร์อย่างเหมาะสมและเป็น ประโยชน์  เพื่อให้นักศึกษารู้จักใช้คอมพิวเตอร์ให้ เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า.
Welco me to. วัตถุประสงค์ :  เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการใช้ คอมพิวเตอร์อย่างเหมาะสมและเป็น ประโยชน์  เพื่อให้นักศึกษารู้จักใช้คอมพิวเตอร์ให้ เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า.
Integrated Network Card
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น อ. ว่าที่ ร. ต. กฤษฎา ศักดิ์คำดวง.
อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device) Input หมายถึง การป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำการประมวลผลโดย User จะเป็นผู้ป้อนข้อมูลเข้าสู่ เครื่อง.
เนื้อหาที่จะเรียน คอมพิวเตอร์คืออะไร ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ อินเตอร์เน็ต Microsoft Office.
Saving Cost Connection
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
วิชา ฮาร์ดแวร์ และการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ ง33222
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Chapter 12 Microprocessor without Interlocked Pipeline Stages (MIPS)
อุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูล (Storage Devices)
Overview 13 October 2007
การเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน สวัสดิการการรักษาพยาบาลข้าราชการ
ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์คืออะไร      คอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อประโยชน์ต่อการแสวงหาสารสนเทศ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับโปรแกรมและข้อมูล.
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลและองค์ประกอบข้อมูล
Information System Development
การติดต่อสื่อสารของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ * Management Information Systems
การจัดหาหรือจัดให้มีการพัฒนา และการบํารุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบงานคอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศ มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศตามวิธีการแบบปลอดภัย.
บทที่ 1 ความหมายขอบเขต และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information Technology for Life)
ผู้สอน : อ.บุศรินทร์ เอี่ยมธนากุล [อ.อ้อย]
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
การใช้โปรแกรมเบื้องต้น (Application Overview)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีต่อคุณภาพชีวิต
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Development Strategies
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Lecture no. 1: Introduction to Computer and Programming
บทที่ 3 การจัดการหน่วยความจำ (Memory Management)
โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์
อ.พิณรัตน์ นุชโพธิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
กลยุทธ์การทดสอบซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
บทที่ 2 อุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผล (Input & Output Devices)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และภาษาซี
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการประมวลผลข้อมูล (Introduction to Computer and Data Processing) บทที่ Business Computer & Information.
บทที่ 3 หน่วยความจำและสื่อบันทึกข้อมูล (Memory and storage)
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. คอมพิวเตอร์ในห้องปฏิบัติการเคมีคลินิก วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถ 1. บอกชนิดของคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบที่สำคัญได้ 2. อธิบายความสำคัญและยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในห้องปฏิบัติการได้ Analog Computer Digital Computer วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ความหมาย: คอมพิวเตอร์ (computer) # บุคคลที่ทำหน้าที่คำนวณ ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอุปกรณ์ช่วยใน การคำนวณ เช่น ลูกคิด (abacus) ไม้บรรทัดแบบมีตัวเลื่อนไปมาได้สำหรับคำนวณ (slide rule) ภาพจาก...http://encyclopedia.thefreedictionary.com ภาพจาก...http://encyclopedia.thefreedictionary.com # เครื่องมือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีความสามารถในการ คำนวณอัตโนมัติตามคำสั่ง ประวัติและชนิดระบบคอมพิวเตอร์ศึกษาได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/คอมพิวเตอร์ วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานได้ด้วย 2 องค์ประกอบ คือ Hard ware: physical machine ส่วนที่ใช้ประมวลผลเรียกว่าหน่วยประมวลผล central processing unit (CPU) memory input/output devices Software: ชุดของคำสั่งที่ระบุขั้นตอนการคำนวณ เรียกว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และข้อมูลสำหรับคำนวณ คำสั่งของระบบปฏิบัติการ (operating program) คำสั่งสำหรับสื่อสารกับ input/output devices (driver program) คำสั่งประมวลผลสำหรับระบบงาน (application program) วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. Basic computer hardware Microprocessor Arithmetic - Logical Unit Registers Clock and interval control Interface control Memory ROM & RAM Monitor Keyboard Input/Output Controller Mouse Printer CPU (central processing unit) Input/Output devices Microprocessor: หน่วยประมวลผลกลาง Memory: หน่วยความจำ เก็บคำสั่ง/ข้อมูลสำหรับประมวลผล Input/Output devices: อุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. Monitor CPU Display card Chipset 1 Main Memory Chipset 3 Other Devices Expansion Slot Key Board Chipset 2 Mouse Floppy Disk Hard Disk Printer Main board CD-ROM ผังแสดงองค์ประกอบ Hardware ของ computer วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. Arithmetic-Logical Unit (ALU) เปรียบเสมือนหัวใจของ คอมพิวเตอร์ หน้าที่หลักของมันคือทำการประมวลผลทาง คณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐานอันได้แก่ การบวก การลบ และทำการ เปรียบเทียบข้อมูลสองข้อมูลว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่ ถ้าไม่จะ มีค่ามากกว่าหรือน้อยกว่า ประมวลผลในรูปแบบข้อมูล Binary หน่วยความจำ หรือ Memory ใช้สำหรับเก็บข้อมูล (Data) และ คำสั่ง (Instructions) โดยข้อมูลภายในหน่วยความจำจะถูก แบ่งเป็นส่วนๆ เล็กๆ เท่าๆ กัน แต่ละส่วนมีที่อยู่ (address) เพื่อ ใช้เข้าถึงข้อมูลที่ถูกจัดเก็บเอาไว้ วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. Bit (บิต) : 0 หรือ 1 เคลาด์ อี แชนนอน (Claude E. Shannon) เริ่มใช้คำว่า บิต ในงานเขียนของเขาในปี พ.ศ. 2491 โดยย่อจากคำเต็มคือ binary digit (หรือ binary unit) แชนนอนได้กล่าวถึงที่มาของคำนี้ว่า มาจาก จอห์น ดับบลิว ทูคีย์ (John W. Tukey) ไบต์ (byte) เป็นกลุ่มของบิต ซึ่งเดิมมีได้หลายขนาด แต่ปัจจุบัน มักเท่ากับ 8 บิต ไบต์ขนาด 8 บิต มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า ออกเท็ต (octet) สามารถเก็บค่าได้ 256 ค่า (28 ค่า, 0 ถึง 255) ส่วนปริมาณ 4 บิต เรียกว่านิบเบิล (nibble) วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. 21 = 2 [2] 22 = 4 [2 x 2] 23 = 8 [2 x 2 x 2] 24 = 16 [2 x 2 x 2 x 2] 25 = 32 [2 x 2 x 2 x 2 x 2] 26 = 64 [2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2] 27 = 128 [2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2] 28 = 256 [2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2] 29 = 512 [2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2] 210 = 1,024 [2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2] หน่วยนับ 1 กิโลบิต(Kb) = 1000 บิต หรือ 1024 บิต 1 เมกะบิต(Mb) = 1000 กิโลบิต หรือ 1024 กิโลบิต 1 จิกะบิต(Gb) = 1000 เมกะบิต หรือ 1024 เมกะบิต 1 เทราบิต(Tb) = 1000 จิกะบิต หรือ 1024 จิกะบิต วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. เวิร์ด (word) เป็นคำที่ใช้เรียกจำนวนบิตที่มากขึ้น แต่ก็ไม่มี ขนาดเป็นมาตรฐานตายตัว บนเครื่องคอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรม IA-32 จำนวน 16 บิต จะเรียกว่าเวิร์ด 32 บิต เรียกว่า ดับเบิลเวิร์ด (double word) หรือ dword ในขณะที่สถาปัตยกรรมอื่น ๆ หนึ่งเวิร์ดมีค่าเท่ากับ 32 บิต, 64 บิต หรือค่าอื่น ๆ ในระบบโทรคมนาคม หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความเร็วในการส่งนิยมใช้หน่วยในรูปของ บิตต่อวินาที (bps - bits per second) วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ชนิดการสื่อสารข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ Parallel transmission รับที่ละ Byte อุปกรณ์ส่ง อุปกรณ์รับ Synchronous communication Serial transmission รับที่ละ Bit อุปกรณ์ส่ง อุปกรณ์รับ Asynchronous communication วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ชนิดของระบบคอมพิวเตอร์ Supper Computer Mainframe Computer มีขนาดใหญ่ ผู้ใช้จะใช้ผ่าน terminal/workstation - dumb terminal(keyboard+Monitor ) - smart terminal(keyboard+Monitor+other devices) Minicomputer คล้ายกับ mainframe แต่มีขนาดเล็กกว่า Microcomputer มีขนาดเล็กและมีครบทุกหน่วยทำงาน วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. Software computer + Hardwires computer Computer ทำงานได้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ชุดคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์) Operating system Drivers Applications -Word processors -Spreadsheets -Presentation -Database -Others ภาษาเครื่อง เบสิก, โฟเทรน, ซี, ปาสคาน, …. HTML, XML, …… Others วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. The major uses of computer includes the following: To perform repetitive tasks Billing for patient tests and logging specimens into a lab To perform complex calculations rapidly Linear-regression analysis associated with enzyme analysis on some instruments RIA data reduction Newer quality control schemes วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. The major uses of computer includes the following: To collect, organize, store, and distribute large amounts of data Collection of patient test results Preparation of a cumulative report Collection and analysis of quality control results To operate machines in a highly reproducible manner วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานห้องปฏิบัติการเคมีคลินิก การคำนวณหาความเข้มข้น ช่วยควบคุมการทำงานของเครื่องวิเคราะห์ต่างๆ ช่วยจัดการ ”ระบบข้อมูลของห้องปฏิบัติการ: LIS” ช่วยวิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำรายงานผลการวิเคราะห์ เช่น งานควบคุมคุณภาพ ศึกษาประสิทธิภาพของวิธีตรวจวัด ช่วยจัดทำเอกสารต่างๆ วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. LIS Server HIS Server Instrument 2 ฐานข้อมูลห้อง lab ฐานข้อมูล ร.พ. Ethernet Printer server Printer Dot Matrix printer Barcode printer Instrument 1 วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. LIS Selection consideration Dose the system have enough capacity to handle not only the current workload but also the expected growth in workload over its expected liftime(5-7 year)? Dose the system have the features needed of it? Dose one have the capability to change the system as one’s requirements change? Costs Implementation personnel Security physical protection of the machine and its programs release of the data to authorized persons only machine failure computer environment วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. บทบาทของคอมพิวเตอร์ต่อเครื่อง spectrophotometer ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องก่อนใช้งาน ควบคุมการเปลี่ยนความยาวคลื่นแสง ควบคุมช่วงเวลาการอ่านค่า Abs ให้มีช่วงเท่ากัน คำนวณค่าความเข้มข้น เก็บสะสมค่าการอ่านและผลการคำนวณ จัดพิมพ์ผลการตรวจวัด วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ตัวอย่างโปรแกรมประยุกต์ในตลาดที่อาจนำมาประยุกต์ใช้ กับงานห้องปฏิบัติการเคมีคลินิก Microsoft Office Word จัดพิมพ์เอกสารต่างๆ ตารางบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติพื้นฐาน PowerPoint นำเสนอข้อมูล จัดการะบบฐานข้อมูล SPSS วิเคราะห์ทาสถิติ Others Excel Access วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. Memory EPROM & RAM Operator subsystem Hard Disk & Floppy Disk Monitor & Keyboard Order via Keyboard Manually Cuvette and Sample cup loading CPU Controled by computer Interface to other system Analysis systems Other analyzers LIS and HIS System checking temperature, liquid level, cuvette and sample cup movement Samples and Reagents aspiration Photometric measurement and calculation Results display & Printout วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ตัวอย่าง การใช้ Microsoft Excel เก็บข้อมูล QC sample และสร้าง QC chart  Mean - 3 S.D.  Mean + 3 S.D.  ค่า S.D.  Mean - 3 S.D. วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. แกน Y Minimum 9.7 Maximum 13.3 Major Unit 0.6 Minor Unit Value (X) axis crosses at Youden Plot for Uric acid assay 13.3 12.7 12.1 Uric acid in control serum level 2 (mean=11.5 mg%, SD=0.6 mg%) 11.5 10.9 แกน X Minimum 3.9 Maximum 5.7 Major Unit 0.3 Minor Unit Value (Y) axis crosses at 10.3 9.7 3.9 4.2 4.5 4.8 5.1 5.4 5.7 Uric acid in control serum Level 1 (mean=4.8 mg%, SD=0.3 mg%) วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ตัวอย่าง การใช้ Microsoft Excel เก็บข้อมูล EQA และวิเคราะห์ค่า VIS J K L M N O P Q R 1 TrialNo. Cholesterol CCV= 7.6   2 Designed V. Your Value S.D. CV V VI VIS 3 181.04 159.00 17.733 12 9.79 -12.175 -160.198 -160.2 4 176.09 175.00 21.677 11 12.31 -0.620 -8.152 -8.2 5 182.66 168.00 26.724 13 14.63 -8.025 -105.597 -105.6 =(L5-K5)*100/K5 =P5*100/O$1 =IF(ABS(Q5)<=400,Q5,IF(Q5<=-400,-400,IF(Q5>=400,400,Q5))) http://home.kku.ac.th/wiskun/SampleUsage.xls วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ตัวอย่างระบบข้อมูลผลการตรวจ สร้างโดย MS Access วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ข้อคำนึงถึงในการจัดทำระบบข้อมูล บันทึกข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการตรวจสอบย้อนหลังได้ ง่ายต่อการบันทึกและสืบค้นย้อนหลัง สามารถใช้สรุปเป็นรายงานสถิติของหน่วยงานได้ ป้องกันการเข้าถึงข้อมูลจากบุคคลภายนอก ป้องกันการแก้ไขข้อมูลจากบุคคลที่ไม่มีหน้าที่รับผิดชอบ กรณีมีการแก้ไขข้อมูล ต้องมีการบันทึก วัน เวลา และผู้ที่แก้ไข ข้อมูลไว้ด้วย ควรกำหนดระยะเวลาการเก็บรักษาข้อมูลไว้ หรือ กำหนดวันเวลาสำหรับทำลายข้อมูล กรณีใช้ระบบคอมพิวเตอร์จัดเก็บ ต้องมีการสำรองข้อมูลและ วิธีกู้ข้อมูลกลับคืนจากแหล่งสำรองข้อมูล วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. การสำเนาข้อมูลของระบบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ฐานข้อมูล มีโปรแกรมถ่ายโอน ข้อมูลมาจัดเก็บ Server ให้บริการ แก่ผู้ใช้ระบบ ฐานข้อมูล สำรอง Backup Server มีผู้รับผิดชอบปฏิบัติ ไม่ให้บริการ แต่ดึงข้อมูลมาจัดเก็บ พร้อมให้บริการ เมื่อ Server เสีย สำเนาข้อมูลเก็บไว้ ในรูปแบบ CD, TAP Server, Backup Server และ Backup CD or TAP ไม่ควรตั้งอยู่ในที่เดียวกัน และ อยู่ในที่ป้องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่มีหน้าที่รับผิดชอบเข้าระบบได้ วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. การประยุกต์ใช้ Microsoft Excel 2003 กับ “ระบบข้อมูลวัสดุคงเหลือ” จำนวน วัสดุคงเหลือ จำนวนและรายการวัสดุ นำเข้า (Input) จำนวนและรายการวัสดุ จ่ายออก (Output) กรอบแนวคิด Worksheet: Code ใช้เก็บชื่อรายการวัสดุ และหน่วยนับ Worksheet: Detail ใช้บันทึกรายการวัสดุรับเข้าและจ่ายออก ใช้สมรรถนะ “การตรวจสอบความถูกต้อง..” การกรอกข้อมูล และ functions ของ Microsoft Excel 2003 จัดการระบบข้อมูล วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ขั้นตอนการสร้างระบบ 1. สร้าง Worksheet ชื่อ Code และบันทึกข้อมูล ชื่อรายการวัสดุ และ หน่วยนับ <ตัวอย่าง> 2. กำหนดข้อมูลชื่อรายการวัสดุทั้งหมด ให้ชื่อว่า “itemcode” <ตัวอย่าง> 3. สร้าง Worksheet ชื่อ Detail และกำหนดหัวตาราง ดังแสดง วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ขั้นตอนการสร้างระบบ 4. กำหนดการ “ตรวจสอบความถูกต้อง...” ของช่วงเซลล์ C6:C16 โดยให้ตรวจสอบจากช่วงข้อมูลชื่อ “itemcode” เสร็จแล้ว คัดลอกเซลล์ C6 ไปวางไว้ที่เซลล์ C2 <ตัวอย่าง> วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ขั้นตอนการสร้างระบบ กำหนดการบันทึกข้อมูลที่เซลล์ D6 โดยอัตโนมัติ เมื่อมีการกรอก ข้อมูลที่เซลล์ C6 โดยบันทึกคำสั่งต่อไปนี้ที่เซลล์ D6 =IF(ISBLANK(C6),"",VLOOKUP(C6,Code!$B$2:$C$16,2,FALSE)) เสร็จแล้วคัดลอกเซลล์ D6 ไปวางไว้ที่เซลล์ D2 และ D6:D16 วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ขั้นตอนการสร้างระบบ 6. ที่เซลล์ E2 ให้บันทึกคำสั่งต่อไปนี้ =SUMIF(C6:C16,C2,E6:E16) เพื่อสรุปจำนวนรับทั้งหมดของรายการวัสดุที่ระบุในเซลล์ C2 ที่เซลล์ F2 ให้บันทึกคำสั่งต่อไปนี้ =SUMIF(C6:C16,C2,F6:F16) เพื่อสรุปจำนวนจ่ายทั้งหมดของรายการวัสดุที่ระบุในเซลล์ C2 ที่เซลล์ G2 ให้บันทึกคำสั่งต่อไปนี้ =E2-F2 เพื่อสรุปจำนวนคงเหลือของรายการวัสดุที่ระบุในเซลล์ C2 วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ขั้นตอนการสร้างระบบ 7. กำหนดช่วงเซลล์ A5:G15 สำหรับใช้กรองข้อมูล เพื่อแสดงเฉพาะข้อมูลที่ต้องการ โดย  เลือกช่วงข้อมูล แล้ว click ด้านขวาของ mouse แล้วเลือก สร้างรายการ...  วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ขั้นตอนการสร้างระบบ 7. กำหนดช่วงเซลล์ A5:G15 สำหรับใช้กรองข้อมูล เพื่อแสดงเฉพาะข้อมูลที่ต้องการ โดย  เช็คเครื่องหมายถูกที่ “รายการของฉันมีส่วนหัวของรายการ” เพราะช่วงเซลล์ A5:G15 แถวที่ 5 เป็นส่วนหัวของรายการ  click ตกลง วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. Worksheet: Code << Back วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. กำหนดข้อมูลชื่อรายการวัสดุทั้งหมด ให้ชื่อว่า “itemcode”    วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. กำหนดข้อมูลชื่อรายการวัสดุทั้งหมด ให้ชื่อว่า “itemcode”  กำหนดชื่อ itemcode   กำหนดช่วงข้อมูลของ “itemcode” ตัวอย่างเช่น Code!$B$2:$B$16 << Back วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. กำหนดการ “ตรวจสอบความถูกต้อง...” ของช่วงเซลล์ C6:C16 โดยให้ตรวจสอบจากช่วงข้อมูลชื่อ “itemcode”   วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. กำหนดการ “ตรวจสอบความถูกต้อง...” ของช่วงเซลล์ C6:C16 โดยให้ตรวจสอบจากช่วงข้อมูลชื่อ “itemcode”  ระบุแหล่งข้อมูลชื่อ =itemcode   << Back วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. การบันทึกข้อมูล ตัวอย่าง บันทึกข้อมูลที่ C6 จะมี drop-down แสดงรายการวัสดุจากช่วงข้อมูลชื่อ “itemcode” ให้เลือกบันทึก เมื่อเลือกรายการแล้ว ข้อมูลที่เซลล์ D6 จะบันทึกเอง แล้วการระจำนวนในคอลัมน์ จำนวนรับ/จำนวนจ่าย และราคา/หน่วย วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ตัวอย่าง เช่น ตัวอย่างนี้ ที่เซลล์ C2 ใช้ drop-downเลือกรายการ “น้ำยาตรวจ Creatinine” โปรแกรมจะสรุป จำนวนรับ จำนวนจ่ายทั้งหมด และจำนวนคงเหลือ วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. กรณี ต้องการให้แสดงเฉพาะรายการรับและจ่ายของ รายการ “น้ำยาตรวจ Creatinine” วาง cursor ที่เซลล์ C5 และใช้ drop-down ของเซลล์ C5 เลือกรายการ “น้ำยาตรวจ Creatinine” วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ถ้าต้องการเพิ่มรายการบันทึก สามารถบันทึกต่อได้ที่แถวที่มี * วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.

วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข. ส่งผลงานฝึกการใช้ Excel สร้างกราฟ Internal QC: QC Chart 1 รูป External QC: VIS chart 1 รูป พิมพ์รูปกราฟที่สร้างได้ส่ง คนละ 1 ชุด น.ศ.เลือก Test ใดก็ได้จาก ข้อมูลที่กำหนดให้ในไฟล์ SampleDataFor-QCchart.xls http://home.kku.ac.th/wiskun/SampleDataFor-QCchart.xls วิสุทธิ์ กังวานตระกูล กลุ่มวิชาเคมีคลินิก สายวิชาเทคนิคการแพทย์ ม.ข.