การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ Integrity & Transparency Assessment - ITA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กองป้องกันการทุจริตในภาครัฐ สำนักงาน ป.ป.ท. สำนักงาน ป.ป.ท.
ดัชนีการรับรู้การทุจริต ประเทศไทย ปี พ.ศ.2561 2018 ปี พ.ศ.๒๕๖๔ ป.ป.ช.ตั้งเป้าจะได้คะแนน ๕๐ คะแนนเป็นอย่างน้อย อีก ๒๐ ปี คือ พ.ศ.๒๕๘๑ จะต้องได้ ๗๓ คะแนนเท่าญี่ปุ่น ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ถึงปัจจบัน ได้คะแนนสูงสุดเพียง ๓๘ คะแนน 36 CPI Score คะแนนปี 2018 99 CPI Score 2017 : 37 Rank 2017 : 96
ลำดับประเทศที่มีความโปร่งใส สูงสุด - ต่ำสุด ลำดับที่ 3 สวีเดนสวิตเซอร์แลนด์ สิงคโปร์ ลำดับที่ 1 เดนมาร์ค ลำดับที่ 2 นิวซีแลนด์ 88 87 ลำดับที่ 99 ไทย 85 ลำดับที่ 176 เกาหลีเหนือ 36 14 -ข้าราชการนิวซีแลนด์ มีจิตวิญญาณในด้านการให้บริการสูง (spirit of service) และเห็นว่าการรักษาประโยชน์ส่วนรวมมีค่าสูงสุด -ฟินแลนด์ มีการปลูกฝังให้ ปชช.ยึดหลักการดำเนินชีวิตบนพื้นฐานความพอประมาณ การรู้จักยับยั้งชั่งใจ ควบคุมความต้องการของตนเอง คล้ายหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง -คนพื้นเมืองในโซมาเลียเปิดเผยว่าการปล้นยึดเรือเป็นเรื่องที่สังคมโซมาเลียยอมรับและกำลังกลายเป็นแฟชั่น เพราะโจรสลัดกลายเป็นกลุ่มคนรวยเงินรวยอำนาจ สร้างบ้านซื้อรถใหม่ ได้แต่งงานกับผู้หญิงสวย -คะแนนความโปร่งใส ฮ่องกง ลำดับ ๑๓ คะแนน ๗๗ คะแนน ญี่ปุ่นลำดับ ๒๐ คะแนน ๗๓ คะแนน จีนลำดับ ๗๗ คะแนน ๔๑ คะแนน 85 ลำดับที่ 180 โซมาเลีย 10 ปี 2560 ไทยอยู่ในลำดับที่ 96 จาก 180 ประเทศ คะแนน 37 ปี 2561 ไทยอยู่ในลำดับที่ 99 จาก 180 ประเทศ คะแนน 36
ผลคะแนนการประเมิน ITA ปี 2559 อันดับ หน่วยงาน คะแนน 1 กรมราชองครักษ์ 95.22 2 กรมธนารักษ์ 88.24 3 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 88.22 4 กรมพัฒนาชุมชน 87.63 5 สํานักราชเลขาธิการ 87.36 126 กรมที่ดิน 76.72 1 การจัดอันดับ ผลคะแนนการประเมิน ITA ระดับกรม ปี 2560 อันดับ หน่วยงาน คะแนน 1 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 92.46 2 กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม 92.13 3 สำนักงานกิจการยุติธรรม 91.46 4 กรมส่งเสริมวัฒนธรรม 91.37 5 กรมการศาสนา 90.86 91 กรมที่ดิน 82.35 ปี 2561 อันดับ หน่วยงาน คะแนน 1 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 94.34 2 กรมบังคับคดี 92.75 3 สป.กระทรวงวิทยาสาสตร์และเทคโนโลยี 92.31 4 กรมบัญชีกลาง 90.83 5 กรมส่งเสริมสหกรณ์ 90.70 114 กรมที่ดิน 81.95 1 1 Integrity and Transparency Assessment: ITA
ภาพรวมและความเป็นมาของ ITA เริ่มดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ITA ss1) จนถึงปัจจุบัน คณะรัฐมนตรีได้มีมติวันที่ 23 มกราคม 2561 เห็นชอบให้หน่วยงานภาครัฐ ทุกหน่วยงานให้ความร่วมมือและเข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและ ความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2564 สำหรับปี 2562 (ITA ss2) สำนักงาน ป.ป.ช. ได้นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อรองรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment System: ITAS)
หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมิน จำนวน 1. องค์กรอัยการ 1 2. หน่วยงานที่ขอเข้าร่วม 2 3. องค์กรศาล 3 4. หน่วยงานในสังกัดรัฐสภา 5. องค์กรอิสระ 5 6. กองทุน 9 7. หน่วยงานของรัฐอื่นๆ 29 ที่ หน่วยงาน จำนวน 8. องค์การมหาชน 1 9. รัฐวิสาหกิจ 54 10. จังหวัด 76 11. สถาบันอุดมศึกษา 83 12. กรมหรือเทียบเท่า 145 13. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7,852 รวมทั้งสิ้น 8,301
เครื่องมือการประเมิน ITA ประกอบด้วย 1.แบบวัดการรับรู้ผู้มีส่วนได้เสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment : IIT) 2.แบบวัดการรับรู้ผู้มีส่วนได้เสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment : EIT) 3.แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT)
ตัวชี้วัดที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่ ประกอบด้วยข้อคำถามจำนวน 6 ข้อ ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่ ประกอบด้วยข้อคำถามจำนวน 6 ข้อ ดังนี้ ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด I 1 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน ปฏิบัติงาน/ให้บริการแก่ ผู้มาติดต่อ ตามประเด็นดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด โปร่งใสเป็นไปตามขั้นตอนที่กำหนด โปร่งใสเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด I 2 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน ปฏิบัติงาน/ให้บริการแก่ ผู้มาติดต่อทั่วๆไป กับผู้มาติดต่อที่รู้จักเป็นการส่วนตัว อย่างเท่าเทียมกัน มากน้อยเพียงใด I 3 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน ตามประเด็นดังต่อไปนี้ อย่างไร มุ่งผลสำเร็จของงาน ให้ความสำคัญกับงานมากกว่าธุระส่วนตัว พร้อมรับผิดชอบ หากความผิดพลาดเกิดจากตนเอง
ตัวชี้วัดที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่ (ต่อ) ประเด็นการประเมิน ระดับ มี ไม่มี I 4 บุคลากรในหน่วยงานของท่านมีการเรียกรับสิ่งดังต่อไปนี้ จากผู้มาติดต่อ เพื่อแลกกับการปฏิบัติงาน การอนุมัติ อนุญาต หรือให้บริการ หรือไม่ เงิน ทรัพย์สิน ประโยชน์อื่นๆ ที่อาจคำนวณเป็นเงินได้ เช่น การลดราคา การรับความบันเทิง เป็นต้น I 5 ในช่วงเทศกาลหรือวาระสำคัญต่างๆ ตามขนบธรรมเนียม ประเพณี บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการรับสิ่งดังต่อไปนี้ นอกเหนือจากการรับโดยธรรมจรรยาหรือไม่
ตัวชี้วัดที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่ (ต่อ) ประเด็นการประเมิน ระดับ มี ไม่มี I 6 บุคลากรในหน่วยงานของท่านมีการให้สิ่งดังต่อไปนี้ แก่บุคลากรภายนอกหรือภาคเอกชน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและคาดหวังให้มีการตอบแทนในอนาคต หรือไม่ เงิน ทรัพย์สิน ประโยชน์อื่นๆ เช่น การยกเว้นค่าบริการ การอำนวยความสะดวกเป็นกรณีพิเศษ
ตัวชี้วัดที่ 2 การใช้งบประมาณ ประกอบด้วยข้อคำถามจำนวน 6 ข้อ ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ 2 การใช้งบประมาณ ประกอบด้วยข้อคำถามจำนวน 6 ข้อ ดังนี้ ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด I 7 ท่านรู้เกี่ยวกับแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีของหน่วยงานของท่าน มากน้อยเพียงใด I 8 หน่วยงานของท่านใช้จ่ายงบประมาณโดยคำนึง ถึงประเด็นดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด คุ้มค่า ไม่บิดเบือนวัตถุประสงค์ของงบประมาณที่ตั้งไว้ I 9 หน่วยงานของท่าน ใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อประโยชน์ส่วนตัว กลุ่ม หรือพวกพ้อง มากน้อยเพียงใด I 10 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการเบิกจ่ายเงินที่เป็นเท็จ เช่น ค่าทำงานล่วงเวลา ค่าวัสดุอุปกรณ์ หรือ ค่าเดินทาง ฯลฯ มากน้อยเพียงใด
ตัวชี้วัดที่ 2 การใช้งบประมาณ (ต่อ) ตัวชี้วัดที่ 2 การใช้งบประมาณ (ต่อ) ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด I 11 หน่วยงานของท่าน มีการจัดซื้อจัดจ้าง/ การจัดหาพัสดุและการตรวจรับพัสดุในลักษณะดังต่อไปนี้ โปร่งใส ตรวจสอบได้ เอื้อประโยชน์ให้ผู้ประกอบการรายใดรายหนึ่ง I 12 หน่วยงานของท่าน เปิดโอกาสให้ท่าน มีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณตามประเด็นดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด สอบถาม ทักท้วง ร้องเรียน
ตัวชี้วัดที่ 3 การใช้อำนาจ ประกอบด้วยข้อคำถามจำนวน 6 ข้อ ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ 3 การใช้อำนาจ ประกอบด้วยข้อคำถามจำนวน 6 ข้อ ดังนี้ ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด I 13 ผู้บังคับบัญชาของท่าน มอบหมายงาน แก่ท่านอย่างเป็นธรรม มากน้อยเพียงใด I 14 ท่านได้รับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามระดับคุณภาพของงาน มากน้อยเพียงใด I 15 ผู้บังคับบัญชาของท่าน มีการคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรม การศึกษาดูงาน หรือการให้ทุนการศึกษาอย่างเป็นธรรม มากน้อยเพียงใด I 16 ผู้บังคับบัญชาของท่าน มีการสั่งการให้ ท่านทำธุระส่วนตัวของผู้บังคับบัญชา มากน้อยเพียงใด
ตัวชี้วัดที่ 3 การใช้อำนาจ (ต่อ) ตัวชี้วัดที่ 3 การใช้อำนาจ (ต่อ) ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด I 17 ผู้บังคับบัญชาของท่าน มีการสั่งการให้ท่านทำในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง หรือมีความเสี่ยงต่อการทุจริต มากน้อยเพียงใด I 18 การบริหารงานบุคคลของหน่วยงาน มีลักษณะ ดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด ถูกแทรกแซงจากผู้มีอำนาจ มีการซื้อขายตำแหน่ง เอื้อประโยชน์ให้กลุ่มหรือพวกพ้อง
ตัวชี้วัดที่ 4 การใช้ทรัพย์สินของทางราชการ ประกอบด้วยข้อคำถาม 6 ข้อ ดังนี้ ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด I 19 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการเอาทรัพย์สินของราชการ ไปเป็นของส่วนตัว หรือนำไปให้กลุ่มหรือพวกพ้องมากเพียงใด I 20 ขั้นตอนการขออนุญาตเพื่อยืมทรัพย์สินของราชการ ไปใช้ปฏิบัติงานในหน่วยงานของท่าน มีความสะดวกมากน้อยเพียงใด I 21 กรณีที่ต้องมีการขอยืมทรัพย์สินของราชการ ไปใช้ปฏิบัติงาน บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการขออนุญาตอย่างถูกต้อง มากน้อยเพียงใด
ตัวชี้วัดที่ 4 การใช้ทรัพย์สินของทางราชการ (ต่อ) ตัวชี้วัดที่ 4 การใช้ทรัพย์สินของทางราชการ (ต่อ) ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด I 22 บุคลากรภายนอกหรือภาคเอกชน มีการนำทรัพย์สินของราชการไปใช้ โดยไม่ได้ขออนุญาตอย่างถูกต้อง จากหน่วยงานของท่าน มากน้อยเพียงใด I 23 ท่านรู้แนวปฏิบัติของหน่วยงานของท่าน เกี่ยวกับการใช้ทรัพย์สินของราชการที่ถูกต้อง มากน้อยเพียงใด I 24 หน่วยงานของท่าน มีการกำกับดูแลและตรวจสอบ การใช้ทรัพย์สินของราชการ เพื่อป้องกันไม่ให้มีการนำไปใช้ประโยชน์ส่วนตัว กลุ่ม หรือพวกพ้อง มากน้อยเพียงใด
ตัวชี้วัดที่ 5 การแก้ไขปัญหาการทุจริต ประกอบด้วยข้อคำถาม 6 ข้อ ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ 5 การแก้ไขปัญหาการทุจริต ประกอบด้วยข้อคำถาม 6 ข้อ ดังนี้ ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด I 25 ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานของท่านให้ความสำคัญกับการต่อต้านการทุจริตมากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน ระดับ มี ไม่มี I 26 หน่วยงานของท่าน มีการดำเนินการ ดังต่อไปนี้ หรือไม่ ทบทวนนโยบายหรือมาตรการป้องกันการทุจริตให้หน่วยงานมีประสิทธิภาพ จัดทำแผนงานด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของหน่วยงาน
ตัวชี้วัดที่ 5 การแก้ไขปัญหาการทุจริต (ต่อ) ตัวชี้วัดที่ 5 การแก้ไขปัญหาการทุจริต (ต่อ) ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด I 27 ปัญหาการทุจริตในหน่วยงานของท่านได้รับการแก้ไข มากน้อยเพียงใด I 28 หน่วยงานของท่าน มีการดำเนินการดังต่อไปนี้ ต่อการทุจริตในหน่วยงานมากน้อยเพียงใด เฝ้าระวังการทุจริต ตรวจสอบการทุจริต ลงโทษทางวินัย
ตัวชี้วัดที่ 5 การแก้ไขปัญหาการทุจริต (ต่อ) ตัวชี้วัดที่ 5 การแก้ไขปัญหาการทุจริต (ต่อ) ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด I 29 หน่วยงานของท่าน มีการนำผลการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานไปปรับปรุงการทำงาน เพื่อป้องกันการทุจริตในหน่วยงาน มากน้อยเพียงใด I 30 หากท่านพบเห็นแนวโน้มการทุจริตที่จะเกิดขึ้น ในหน่วยงานของท่าน ท่านมีความคิดเห็นต่อประเด็นดังต่อไปนี้ อย่างไร สามารถร้องเรียนและส่งหลักฐานได้อย่างสะดวก สามารถติดตามผลการร้องเรียนได้ มั่นใจว่าจะมีการดำเนินการอย่างตรงไปตรงมา มั่นใจว่าปลอดภัยและไม่กระทบต่อตนเอง
ตัวชี้วัดที่ 6 คุณภาพการดำเนินงาน ประกอบด้วยข้อคำถาม 5 ข้อ ดังนี้ ประเด็นการประเมิน ระดับ E 1 เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ ปฏิบัติงานให้บริการ แก่ท่าน ตามประเด็นดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด โปร่งใสเป็นไปตามขั้นตอนที่กำหนด โปร่งใสเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด E 2 เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ ปฏิบัติงานให้บริการ แก่ท่าน กับผู้มาติดต่อคนอื่นๆ อย่างเท่าเทียมกันมากน้อยเพียงใด E 3 เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ การดำเนินการ/ให้บริการแก่ท่านอย่างตรงไปตรงมา ไม่ปิดบัง มากน้อยเพียงใด
ตัวชี้วัดที่ 6 คุณภาพการดำเนินงาน (ต่อ) ประเด็นการประเมิน ระดับ E 4 ในระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา ท่านเคยถูกเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ ร้องขอให้จ่ายหรือให้สิ่งดังต่อไปนี้ เพื่อแลกกับการปฏิบัติงาน การอนุมัติ อนุญาต หรือให้บริการ หรือไม่ มี ไม่มี เงิน ทรัพย์สิน ประโยชน์อื่นๆ ที่อาจคำนวณเป็นเงินได้ เช่น การลดราคา การให้ความบันเทิง ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด E 5 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการดำเนินการ โดยคำนึงถึงประโยชน์ของประชาชนและส่วนรวมเป็นหลัก มากน้อยเพียงใด
ตัวชี้วัดที่ 7 ประสิทธิภาพการสื่อสาร ประเด็นการประเมิน ระดับ E 6 การเผยแพร่ข้อมูลของหน่วยงานที่ท่านติดต่อมีลักษณะดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด น้อยที่สุดหรือไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด เข้าถึงง่าย ไม่ซับซ้อน มีช่องทางหลากหลาย ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด E 7 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการเผยแพร่ผลงาน หรือข้อมูล ที่สาธารณชนควรรับทราบอย่างชัดเจน มากน้อยเพียงใด
ตัวชี้วัดที่ 7 ประสิทธิภาพการสื่อสาร (ต่อ) น้อยที่สุดหรือไม่มีเลย ประเด็นการประเมิน ระดับ มี ไม่มี E 8 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีช่องทางรับฟังคำติชมหรือความคิดเห็นเกี่ยวกับ การดำเนินงาน/ การให้บริการ หรือไม่ ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด E 9 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการชี้แจงและตอบคำถามเมื่อมี ข้อกังวลสงสัย เกี่ยวกับการดำเนินงานได้อย่างชัดเจนมากน้อยเพียงใด
ตัวชี้วัดที่ 7 ประสิทธิภาพการสื่อสาร (ต่อ) ประเด็นการประเมิน ระดับ มี ไม่มี E 10 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีช่องทางให้ผู้มาติดต่อร้องเรียนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน หรือไม่
ตัวชี้วัดที่ 8 การปรับปรุงระบบการทำงาน ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด E 11เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงาน/การให้บริการดีขึ้น มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด E 12 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการปรับปรุงวิธีการและขั้นตอน การดำเนินงาน/การให้บริการให้ดีขึ้น มากน้อยเพียงใด
ตัวชี้วัดที่ 8 การปรับปรุงระบบการทำงาน (ต่อ) ประเด็นการประเมิน ระดับ มี ไม่มี E 13 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินงาน/การให้บริการ ให้เกิดความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น หรือไม่ ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือ ไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด E 14 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ เปิดโอกาสให้ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้เสีย เข้าไปมีส่วนร่วม ในการปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงาน/การให้บริการของหน่วยงานให้ดีขึ้น มากน้อยเพียงใด
ตัวชี้วัดที่ 8 การปรับปรุงระบบการทำงาน (ต่อ) น้อยที่สุดหรือไม่มีเลย ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อยที่สุดหรือไม่มีเลย น้อย มาก มากที่สุด E 15 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการปรับปรุงการดำเนินงาน/ การให้บริการ ให้มีความโปร่งใสมากขึ้น มากน้อยเพียงใด
ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัดย่อย ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัดย่อย ข้อ ข้อมูล รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 9.1 ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลพื้นฐาน o1 โครงสร้าง ข้อมูลการแบ่งส่วนงานภายในของหน่วยงาน เช่น สำนัก กอง ศูนย์ ฝ่าย ส่วน กลุ่ม เป็นต้น o2 ข้อมูลผู้บริหาร ข้อมูล ชื่อ-นามสกุล และตำแหน่งของผู้บริหารสูงสุดและรองผู้บริหารสูงสุด o3 อำนาจหน้าที่ ข้อมูลเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่หรือภารกิจของหน่วยงานตามที่กฎหมายกำหนด o4 แผนยุทธศาสตร์หรือ แผนพัฒนาหน่วยงาน ข้อมูลเกี่ยวกับแผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงานซึ่งมีระยะของแผนมากกว่า 1 ปี พร้อมรายละเอียด ทั้งนี้ จะต้องครอบคลุมปี พ.ศ.2562 o5 ข้อมูลการติดต่อ ข้อมูลการติดต่อกับหน่วยงานอย่างน้อยจะต้องประกอบด้วย 1) ที่อยู่ 2) หมายเลขโทรศัพท์ 3) หมายเลขโทรสาร 4 ) ที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) 5) แผนที่ตั้งหน่วยงาน o6 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน เช่น พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ข้อบัญญัติ ประกาศ ระเบียบ หรือมติคณะรัฐมนตรี เป็นต้น
ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ข่าวประชาสัมพันธ์ o7 ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ หรือภารกิจของหน่วยงานตามที่กฎหมายกำหนดทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล o8 Q&A ช่องทางที่ผู้รับบริการ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถสอบถามข้อมูลหรือข้อกังวลสงสัย และหน่วยงานสามารถตอบข้อสอบถามหรือสื่อสารตอบโต้กันได้ โดยจะต้องเป็นช่องทางผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน o9 Social Network ช่องทางการเชื่อมโยงไปสู่เครือข่ายสังคมออนไลน์ของหน่วยงาน เช่น Facebook Twitter Instagram หรือ Line เป็นต้น โดยจะต้องเป็นช่องทางผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน
ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) ข้อ ข้อมูล รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 9.2 การบริหารงาน แผนการดำเนินงาน o10 แผนดำเนินงานประจำปี ข้อมูลแผนดำเนินงานประจำปีของหน่วยงานพร้อมรายละเอียด ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 o11 รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปีรอบ 6 เดือน ข้อมูลที่แสดงว่าหน่วยงานมีการกำกับติดตามการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนการดำเนินงานประจำปี รอบ 6 เดือน ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 o12 รายงานผลการดำเนินงานประจำปี ข้อมูลสรุปผลการดำเนินงาน ตามแผนดำเนินงานประจำปี ทั้งนี้ อย่างน้อยจะต้องมีข้อมูลของปี พ.ศ. 2561 การปฏิบัติงาน o13 คู่มือหรือมาตรฐาน การปฏิบัติงาน ข้อมูลเกี่ยวกับคู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พร้อมรายละเอียด
ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) ข้อ ข้อมูล รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ การให้บริการ o14 คู่มือหรือมาตรฐาน การให้บริการ ข้อมูลเกี่ยวกับคู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการตามอำนาจหน้าที่หรือภารกิจของหน่วยงานตามที่กฎหมายกำหนด พร้อมรายละเอียด o15 ข้อมูลเชิงสถิติ การให้บริการ ข้อมูลสถิติการให้บริการตามอำนาจหน้าที่หรือภารกิจของหน่วยงานตามที่กฎหมายกำหนด ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 o16 รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ ข้อมูลสรุปผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการตามอำนาจหน้าที่หรือภารกิจของหน่วยงานตามที่กฎหมายกำหนด ทั้งนี้ อย่างน้อยจะต้องมีข้อมูลของปี พ.ศ. 2561 o17 E-Service ช่องทางที่ผู้รับบริการ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถขอรับบริการตามอำนาจหน้าที่หรือภารกิจของหน่วยงานตามที่กฎหมายกำหนด โดยจะต้องเป็นช่องทางผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน
ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) ข้อ ข้อมูล รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 9.3 การบริหารงานเงินงบประมาณ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี o18 ข้อมูลแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีพร้อมรายละเอียด ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 o19 รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี รอบ 6 เดือน ข้อมูลการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี รอบ 6 เดือน ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 o20 รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ข้อมูลสรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณ ตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ทั้งนี้ อย่างน้อยจะต้องมีข้อมูลของปี พ.ศ. 2561
ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) ข้อ ข้อมูล รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ o21 แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ ตามที่หน่วยงานจะต้องดำเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 o22 ประกาศต่างๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ ประกาศตามที่หน่วยงานจะต้องดำเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 เช่น ประกาศเชิญชวน ประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้าง เป็นต้น ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 o23 สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุรายเดือน สรุปผลการจัดซื้อหรือจัดจ้างตามแบบ สขร.1 ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 o24 รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2561
ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) ข้อ ข้อมูล รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 9.4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล o25 นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล นโยบายหรือทิศทางของหน่วยงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลที่มีความโปร่งใส สอดคล้องกับการขับเคลื่อนภารกิจของหน่วยงาน และทิศทางการปฏิรูปประเทศ o26 การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล หน่วยงานมีการดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล เช่น การวางแผนกำลังคน การสรรหาคนดีคนเก่งเพื่อปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร การพัฒนาคุณภาพชีวิต การบรรจุและแต่งตั้งบุคลากร การประเมินผลการปฏิบัติงาน การส่งเสริมจริยธรรมและรักษาวินัยของบุคลากรในหน่วยงาน เป็นต้น ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามกฎ ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง o27 หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล หน่วยงานมีการกำหนดหลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ซึ่งเป็นไปตาม กฎ ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ หลักเกณฑ์การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร หลักเกณฑ์การบรรจุและแต่งตั้งบุคลากร หลักเกณฑ์การพัฒนาบุคลากร หลักเกณฑ์ การประเมินผลการปฏิบัติงาน หลักเกณฑ์การให้คุณให้โทษและการสร้างขวัญกำลังใจ o28 รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี หน่วยงานมีการประเมินผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลและจัดทำเป็นรายงาน ผลการดำเนินงานประจำปี สำนักงาน ป.ป.ท.
ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) ข้อ ข้อมูล รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต o29 แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต แนวปฏิบัติหรือเนื้อหาเกี่ยวกับรายละเอียดการจัดการต่อเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับ การทุจริตของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน o30 ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต ส่วนที่ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานโดยจะต้องเป็นช่องทางผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน o31 ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตประจำปี สรุปจำนวนและประเภทเรื่องร้องเรียนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ทั้งนี้ อย่างน้อยจะต้องมีข้อมูลของปี พ.ศ.2561 สำนักงาน ป.ป.ท.
ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) ข้อ ข้อมูล รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม o32 ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น ส่วนที่ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถให้ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยจะต้องเป็นช่องทางผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน o33 การดำเนินการหรือกิจกรรมที่แสดงถึงการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีส่วนร่วม ในการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน เช่น ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือร่วมติดตามประเมินผล เป็นต้น ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูล ของปี พ.ศ. 2562 สำนักงาน ป.ป.ท.
ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัดย่อย ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัดย่อย ข้อ ข้อมูล รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 10.1 การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร o34 การแสดงเจตนารมณ์หรือคำมั่นของผู้บริหารสูงสุดคนปัจจุบัน ว่าจะปฏิบัติหน้าที่และบริหารหน่วยงานอย่างซื่อสัตย์สุจริตโปร่งใสและเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล o35 การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร การดำเนินการหรือกิจกรรมที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมของผู้บริหารสูงสุดคนปัจจุบัน ในการให้ความสำคัญกับการปรับปรุงพัฒนาหน่วยงานด้านคุณธรรมและความโปร่งใส ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต o36 การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี การประเมินความเสี่ยงของการดำเนินงานหรือการปฏิบัติหน้าที่ที่อาจก่อให้เกิดการทุจริตหรือก่อให้เกิดการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมของหน่วยงาน ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 o37 การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต การดำเนินการหรือกิจกรรมที่แสดงถึงการจัดการความเสี่ยงของการดำเนินงานในกรณีที่อาจก่อให้เกิดการทุจริตหรือก่อให้เกิดการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมของหน่วยงาน ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562
ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต (ต่อ) รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต (ต่อ) ข้อ ข้อมูล รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร o38 การดำเนินการหรือกิจกรรมที่แสดงถึงการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานมีทัศนคติ ค่านิยม ในการปฏิบัติงานอย่างซื่อสัตย์สุจริต ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต o39 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี ข้อมูลแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี พร้อมรายละเอียด ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 o40 รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปีรอบ 6 เดือน ข้อมูลการกำกับติดตามการดำเนินการ ตามแผนป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน ทั้งนี้ จะต้องเป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 o41 รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี ข้อมูลสรุปผลการดำเนินงาน ตามแผนการป้องกันการทุจริตประจำปี ทั้งนี้ อย่างน้อยจะต้องมีข้อมูลของปี พ.ศ.2561
ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต (ต่อ) รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต (ต่อ) ข้อ ข้อมูล รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัด 10.2 มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต มาตรการภายในเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริต o42 มาตรการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะ แนวปฏิบัติของหน่วยงาน เช่น การกำหนดขั้นตอน วิธีการ และส่วนงาน/เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะ o43 มาตรการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วม แนวปฏิบัติของหน่วยงาน เช่น การกำหนดขั้นตอน วิธีการ และส่วนงาน/เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องกับมาตรการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน o44 มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง แนวปฏิบัติของหน่วยงาน เช่น การกำหนดขั้นตอน วิธีการ และส่วนงาน/เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ o45 มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต แนวปฏิบัติของหน่วยงาน เช่น การกำหนดขั้นตอน วิธีการ และส่วนงาน/เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน
ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต (ต่อ) รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต (ต่อ) ข้อ ข้อมูล รายละเอียดข้อมูลที่เผยแพร่ มาตรการภายในเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริต (ต่อ) o46 มาตรการป้องกันการรับสินบน แนวปฏิบัติของหน่วยงาน เช่น การกำหนดขั้นตอน วิธีการ และส่วนงาน/เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการรับสินบน o47 มาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม แนวปฏิบัติของหน่วยงาน เช่น การกำหนดขั้นตอน วิธีการ และส่วนงาน/เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม o48 มาตรการตรวจสอบการใช้ดุลพินิจ แนวปฏิบัติของหน่วยงาน เช่น การกำหนดขั้นตอน วิธีการ และส่วนงาน/เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบการใช้ดุลพินิจในการปฏิบัติหน้าที่
TIMELINE เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. หน่วยงานปรับปรุงแก้ไขระบบงานและการเปิดเผยข้อมูลผ่านเว็บไซต์หน่วยงาน รวมทั้งเตรียมตัวบุคลากรผู้รับผิดชอบ ลงทะเบียนนำเข้าข้อมูลเพื่อเตรียมการประเมิน ได้แก่ จำนวนผู้มีส่วนได้เสียภายใน และจำนวนผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ให้ผู้มีส่วนได้เสียภายในและภายนอกเข้ามาตอบในระบบ ITAS หน่วยงานตอบคำถามแบบสำรวจ OIT ผู้รับจ้างประเมินเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสำรวจ EIT และตรวจสอบให้คะแนนแบบสำรวจ OIT ผู้รับจ้างประเมินสรุปผลและให้ข้อเสนอแนะระบบประมวลผลการประเมิน รายงานผลการประเมินแก่คณะกรรมการ ป.ป.ช. และคณะรัฐมนตรี รวมทั้งเสนอเพื่อประกาศผลการประเมินและมอบรางวัล ม.ค.-มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
จบการนำเสนอ