กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กับการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.คณิศร ร่มพฤกษา เลขที่ 17 ชั้น ป.4/2.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการบุคลากรทรัพยากรมนุษย์
ทฤษฎีทางการศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
พนิตตา ลูกบัว นักประชาสัมพันธ์ สพป.นครราชสีมาเขต ๗
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของผู้ว่าราชการจังหวัดและ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
โครงการประเมินสถานภาพ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล กรมตรวจบัญชีสหกรณ์
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การบริหารจัดการ เชิงสถานการณ์ (Situaional Management)
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
การบริหารจัดการ เชิงสถานการณ์ (Situaional Management)
Supply Chain Management
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม บทที่ 5. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร

ทำไมต้องมีการบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กรอบการประเมินตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ

ทำไมต้องมีการบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ แนวทางการบริหารราชการแนวใหม่ ซึ่งเป็นการบริหารราชการที่ ๑. เน้นในเรื่องการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป็นกรอบแนวทางในการบริหารราชการ หรือที่ใช้ภาษาอังกฤษว่า “Good Governance” ๒. เน้นในเรื่องการมุ่งผลสัมฤทธิ์ การทำงานที่มีเป้าหมายที่เน้นผลผลิต และผลสัมฤทธิ์ที่ชัดเจน และมีตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถติดตามผลการปฏิบัติงานได้ ๓. ภาครัฐยุคใหม่ต้องปรับระบบการทำงานให้เป็นสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ โดยการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ซอฟท์แวร์ และการสื่อสารสมัยใหม่ มีการบริการทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ โดยผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต หรือ เว็บไซต์ ได้ เช่น เรื่องใกล้ตัวของเราก็ได้แก่การจัดเก็บภาษีเงินได้ทางเว็บไซต์ การประชุมโดยใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ๔. มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ที่มีการกำหนดตัวชี้วัด ผลสัมฤทธิ์อย่างชัดเจน ที่สามารถติดตามประเมินผลการทำงานได้อย่างเป็นรูปธรรม ๕. ผลการดำเนินงานต้องมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และสามารถแข่งขันได้ ๖. กำหนดตัวผู้รับผิดชอบชัดเจน มีเจ้าภาพในการปฏิบัติงาน ๗. คุณภาพการให้บริการประชาชน ตัวชี้วัดที่จะสะท้อนให้เห็นว่าประชาชนได้รับคุณภาพบริการที่ดีขึ้น น่าจะมีอย่างน้อย ๒ ประการคือ ความพึงพอใจของประชาชน และระยะเวลาในการให้บริการ ๘. การจัดตั้งองค์กรรูปแบบพิเศษ ๙ .การทำงานเชิงรุกแบบบูรณาการ สิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นจุดที่เน้นในการบริหารราชกาแนวใหม่

ความเชื่อมโยงผลสัมฤทธิ์ของแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลและผลสัมฤทธิ์ตามแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร

เป้าหมายของการบริหารทรัพยากรบุคคล สรรหา พัฒนา รักษาไว้ ใช้ประโยชน์ พัฒนาให้เป็นคนดี คนเก่งยิ่งขึ้น รักษาให้อยู่นาน ๆ หาคนดี คนเก่งเข้ามาทำงาน จัดสรรทรัพยากร ให้เหมาะสม ส่งเสริมให้ทำงานเต็มศักยภาพ

การบริหารงานบุคคลเน้นการจัดการ การบริหารงานบุคคลเน้นยุทธศาสตร์ แนวทางบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลแนวใหม่ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาโครงการ การพัฒนาโครงการ การจัดการ การจัดการ การนำเทคโนโลยีมาใช้ Outsourcing การบริหารงานบุคคลเน้นการจัดการ การบริหารงานบุคคลเน้นยุทธศาสตร์

ภารกิจ ประการของการบริหารทรัพยากรบุคคล ภารกิจ ประการของการบริหารทรัพยากรบุคคล 1 การพัฒนาและใช้ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ โครงสร้างองค์กร 10 1 การวางแผนกำลังคน และการสรรหาบุคลากร คุณภาพการให้บริการ 9 2 การสื่อความรู้ความเข้าใจทั่วทั้งองค์กร การฝึกอบรม การพัฒนา และการจัดการความรู้ 8 3 ภารกิจ 10 ประการของการบริหารทรัพยากรบุคคล หลักวิชาหรือศาสตร์ในเรื่องการบริหารทรัพยากรบุคคล มีการนำหลักมาจากภาคเอกชน ซึ่งมองว่าการบริหารทรัพยากรบุคคลมีภารกิจ 10 ประการ ที่ต้องบริหารจัดการดูแล โครงสร้างองค์กร (Organization Structure) การวางแผนกำลังคนและการสรรหาบุคลากร (Workforce Planning and Recruitment) ประกอบด้วย Redeployment of resource Retirement Public Organization Size Diversity Management การฝึกอบรม การพัฒนา และการจัดการความรู้ (HRM - Training and Development/ Knowledge Management) การวางแผนทดแทนตำแหน่ง/การหมุนเวียนงาน (Succession Plan/Staff) การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) หรือ PM การกำหนดภารกิจอย่างมีเป้าหมายและการวัดผลงานบุคคล (Individual KPI) การบริหารค่าตอบแทนและสวัสดิการ (และคุณภาพชีวิต) การจ่ายค่าตอบแทน (Pay) ประกอบด้วย 3P คือ Pay for Position Pay for Performance Pay for Person หลักการบริหารค่าตอบแทน (Pay Administration) ต้องคำนึงถึงความเสมอภาคภายนอก (External Equity) และความเสมอภาคภายใน (Internal Equity) รวมถึงต้องใช้กลไกตลาด (Market Mechanism) 8. การสื่อความรู้ความเข้าใจทั่วทั้งองค์กร 9. คุณภาพการให้บริการ 10. การพัฒนาและใช้ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ อธิบาย พร้อมยกตัวอย่างจากประสบการณ์จริงประกอบในแต่ละหัวข้อ การบริหารค่าตอบแทนและสวัสดิการ (และคุณภาพชีวิต) 4 การวางแผนทดแทนตำแหน่ง/ การหมุนเวียนงาน 7 6 5 การกำหนดภารกิจอย่างมีเป้าหมาย และการวัดผลงานบุคคล การบริหารผลการปฏิบัติงาน

บทบาทของฝ่ายทรัพยากรบุคคล เน้นการอำนวยการและนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลง เน้นความสำเร็จของส่วนราชการหรือประสิทธิผล เน้นยุทธศาสตร์ การเป็นหุ้นส่วนเชิงยุทธศาสตร์ Strategic Partner การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง Change Agent เน้นกระบวนการ เน้นคน การเป็นผู้เชี่ยวชาญ ในงานวิชาชีพ Functional Expert People Champion เน้นปฏิบัติการ เน้นประสิทธิภาพของกระบวนการทำงาน เน้นการมองคนว่าเพิ่มคุณค่าให้องค์กรได้

เข้าใจบทบาทหน้าที่ของ HR ในการเพิ่ม Value Added กระบวนการของกลยุทธ์การแข่งขัน Schuler และ Jackson (1987) อธิบายกลยุทธ์ที่แตกต่างกัน 3 วิธี สำหรับปฏิบัติด้านทรัพยากรบุคคล และเป็นพฤติกรรมแบบอย่างให้แก่ผู้อื่น ซึ่งทั้ง 3 กลยุทธ์นี้สอดคล้องกับกลยุทธการแข่งขันที่ Porter (1985) ได้นำเสนอไว้ กลยุทธ์นวัตกรรม (Innovation Strategy) กลยุทธ์ส่งเสริมคุณภาพ (Quality Enhancement Strategy) กลยุทธ์การเป็นผู้นำด้านต้นทุน (Cost Leadership Strategy)

หมั่นศึกษาความเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายนอก การเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยีและองค์ความรู้ใหม่ๆ (Technological change) ทั้งในเรื่องการบริหารงานบุคคลและงานอื่นๆ ในองค์การ การเปลี่ยนแปลงในระบบสังคม เศรษฐกิจ การเมือง (Economic cycles) การเปลี่ยนแปลงในกฎระเบียบต่างๆ (Changes in legislation) การเปลี่ยนแปลงอันเป็นผลกระทบมาจากโลกาภิวัตน์ (Globalization) การเปลี่ยนแปลงอันเป็นผลมากจากการแข่งขันในภาวะทุนนิยม

ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน สติปัญญา แบ่งปัน) มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วนดังนี้ กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กัยการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อมๆกันดังนี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถาณการณ์ต่างๆที่คาดว่าจะเกิดช้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าวๆให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่างคือ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในการปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียรช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต ไม่โลภและไม่ตระหนี่ แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี นำสู่ ชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม สมดุล/มั่นคง/ยั่งยืน

กรอบมาตรฐานความสำเร็จด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน ประสิทธิผลของ การบริหารทรัพยากรบุคคล  ความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมในการทำงาน และระบบงาน  การรักษาไว้ซึ่งข้าราชการที่จำเป็นต่อการบรรลุ เป้าหมาย  สวัสดิการและสิ่งอำนวยความสะดวก  ความพึงพอใจต่อนโยบาย/มาตรการ การบริหารทรัพยากรบุคคล  ความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ปฏิบัติงาน ทุกระดับ ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์  การเรียนรู้และพัฒนา  ระบบการบริหาร ผลการปฏิบัติงาน  นโยบาย แผนงาน และมาตรการด้านทรัพยากรบุคคล  การวางแผนและบริหารกำลังคน  การบริหารกำลังคนกลุ่มที่มีทักษะและสมรรถนะสูง ความพร้อมรับผิด ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล  การสร้าง พัฒนา และสืบทอดตำแหน่ง ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล  การตัดสินใจบนหลักความสามารถ หลักคุณธรรมหลักนิติธรรม หลักสิทธิมนุษยชน  กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล  ระบบฐานข้อมูล  ความโปร่งใสของกระบวนการ และพร้อมรับการตรวจสอบ  ความคุ้มค่าของค่าใช้จ่ายในกิจกรรมการบริหาร ทรัพยากรบุคคล  เทคโนโลยีเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคล

หลักการบริหารทรัพยากรบุคคล สามารถ เสมอภาค เป็นกลางทางการเมือง มั่นคง สำนักงาน ก.พ.

ผลกระทบต่อการบริหารทรัพยากรบุคคล การลงทุนจะไหลไปสู่แหล่งแรงงานราคาถูกและสื่อสารด้วย ภาษาอังกฤษ กระบวนการผลิตจะปรับไปสู่การผลิตที่ใช้ทุนและเทคโนโลยีชั้นสูง การจ้างงานจะมีมากขึ้นในงานที่ใช้ทักษะฝีมือและกำลังคนที่มีความสามารถในการเรียนรู้และใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ มีการใช้การจ้างเหมาหรือรับช่วงงานมากขึ้น

ผลกระทบต่อการบริหารทรัพยากรบุคคล การคัดเลือกพนักงานจะเลือกผู้ที่มีมูลค่าทางปัญญาสูง โครงสร้างค่าตอบแทนและการบริหารค่าตอบแทนเน้นที่ ความสามารถ และมุ่งเน้นในผลงานที่เป็นธุรกิจหลักขององค์กร จะมีการนำเทคโนโลยีหรือการใช้บริการจากหน่วยงานภายนอก (Outsourcing) ในงานที่ไม่มีคุณค่าเพิ่มสูงต่อธุรกิจ

หน้าที่รับผิดชอบหลัก Accountabilities มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (Job Specification) ... ความหมาย เป็นแบบบรรยายลักษณะงานแบบย่อที่ระบุลักษณะงาน โดยสังเขป เน้นการมุ่งผลสัมฤทธิ์ประจำตำแหน่ง โดยมีรายละเอียดประกอบด้วยหน้าที่ความรับผิดชอบ หลัก และคุณวุฒิที่จำเป็น ได้แก่ ระดับความรู้ ทักษะ และสมรรถนะประจำตำแหน่ง ระดับความรู้ ทักษะและประสบการณ์ที่ผู้ปฏิบัติงานจำเป็นต้องมีเพื่อให้ปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ลักษณะพฤติกรรมการทำงานที่เหมาะสมต่อตำแหน่งและจะช่วยส่งเสริมผลงาน หน้าที่รับผิดชอบหลัก Accountabilities (ผลสัมฤทธิ์) ทักษะ/ความรู้ Skills/Knowledge (ปัจจัยนำเข้า) Competencies (พฤติกรรม/ ขั้นตอน) วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันว่าตำแหน่งงานในระบบ ราชการพลเรือนแต่ละตำแหน่งมีขอบเขตภารกิจหน้าที่ รับผิดชอบเฉพาะตำแหน่งอย่างไร ตลอดจนมีเกณฑ์ คุณวุฒิ คุณสมบัติอย่างไร และผู้ดำรงตำแหน่งควรจะ ประพฤติปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะเหมาะสมสำหรับ ตำแหน่งและบรรลุผลสัมฤทธิ์ของตำแหน่งได้ดียิ่งขึ้น ขอบเขตผลลัพธ์หลักของงานที่ผู้ปฏิบัติงานต้องทำให้สำเร็จจึงจะถือว่าสามารถปฏิบัติงานได้ตามวัตถุประสงค์ของตำแหน่งงานในระดับที่ได้มาตรฐาน สำนักงาน ก.พ.