การขึ้นทะเบียนและ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
1.กิจกรรมสร้างการรับรู้ เนื้อหา :  สร้างการรับรู้เรื่องสถานการณ์น้ำในพื้นที่แต่ละจังหวัด  รายงานความเคลื่อนไหวการเตรียมรับมือสถานการณ์  รณรงค์การใช้น้ำอย่างประหยัด.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
งบประมาณและความช่วยเหลือ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบบริการประชาชน กรมทางหลวงชนบท
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
1. รวบรวมข้อมูล ตำรวจจับกุมและขอฝากขัง ผู้ต้องหา/จำเลยกรอกคำร้องขอปล่อย (ปส.1), ข้อมูลประวัติ (ปส.3) และ ข้อมูลเพื่อการติดต่อ (ปส.5)
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
การขึ้นทะเบียนเกษตรกร คือ
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
โครงการปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2559
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขึ้นทะเบียนและ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 การขึ้นทะเบียนและ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ความหมาย “ทะเบียนเกษตรกร” ทะเบียนเกษตรกร คือ ข้อมูลของครัวเรือนผู้ประกอบการเกษตร ที่แสดงถึงสถานภาพและการประกอบอาชีพทางการเกษตรของครัวเรือน ประกอบด้วย 1) ข้อมูลพื้นฐานครัวเรือน 2) สมาชิกในครัวเรือน 3) การถือครองที่ดินเพื่อการเกษตร 4) การประกอบกิจกรรมการเกษตร 5) การเข้าร่วมโครงการภาครัฐ 6) รายได้ 7) หนี้สิน 8) เครื่องจักรกลการเกษตร และ 9) แหล่งน้ำ ครัวเรือน หมายถึง ครอบครัวที่อยู่ในบ้านเรือนเดียวกัน ใช้เลขประจำบ้าน (ตามทะเบียนบ้าน) เดียวกัน

ประโยชน์ทะเบียนเกษตรกร ใช้เป็นฐานข้อมูลเบื้องต้นในการส่งเสริม พัฒนา และสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายและมาตรการต่างๆ ของภาครัฐ ใช้เป็นฐานข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์และคาดการณ์การผลิตทางการเกษตร ใช้ในการตรวจสอบการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยธรรมชาติ ให้บริการหน่วยงานต่างๆ ในการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในส่วนที่เกี่ยวข้อง เกษตรกรมีประวัติการประกอบกิจกรรมการเกษตร และสามารถใช้วางแผนการผลิตของครัวเรือน

ข้อกำหนดเบื้องต้นในการใช้ข้อมูลทะเบียนเกษตรกร เกษตรกรทุกครัวเรือนมีสิทธิ์แจ้งขึ้นทะเบียนได้ และเป็นการแจ้งโดยสมัครใจ เป็นข้อมูลของเกษตรกรที่ปลูกพืช เลี้ยงปศุสัตว์พื้นฐาน เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำพื้นฐาน ทำนาเกลือสมุทร และเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจเท่านั้น เกษตรกรสามารถแจ้งขึ้นทะเบียนและปรับปรุงข้อมูลหลังปลูก 15 วัน และไม่เกิน 60 วัน เป็นข้อมูลที่บันทึกตามที่ได้รับแจ้งจากเกษตรกร จึงไม่ใช่ข้อมูลเพื่อการรับรองความเป็นเกษตรกรหรือรับรองการประกอบกิจกรรมการเกษตรของครัวเรือน ข้อมูลการถือครองที่ดิน ไม่ได้จำกัดในเรื่องการมี/ไม่มีที่ดินเป็นของตนเองและการมี/ไม่มีเอกสารสิทธิ์ เป็นข้อมูลที่อ้างอิงได้กับรหัสทะเบียนบ้านและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ของกรมการปกครอง

ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนเกษตรกร ขึ้นทะเบียนตามความสมัครใจ ของเกษตรกร ไม่มีกฎหมาย ระเบียบ บังคับ ขึ้นทะเบียนเป็นรายครัวเรือน มีตัวแทนมาขอขึ้นทะเบียน 1 คน ผู้มาขอขึ้นทะเบียนจะต้อง บรรลุนิติภาวะ มีสัญชาติไทย เป็นผู้ประกอบกิจกรรมการเกษตร เป็นอาชีพหลัก หรือ อาชีพรอง ก็ได้ สามารถขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรได้ตลอดเวลา เกษตรกรแจ้งข้อมูล เพื่อขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงข้อมูล ตรวจสอบ (ประชาคม) ออกสมุดทะเบียนเกษตรกร/ รายงานผล 1 2 3

การขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2560 ปรับกรอบระยะเวลาการปลูกข้าวตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ เริ่มตั้งแต่เดือน เมษายน เป็นต้นไป ปรับกรอบระยะเวลาในการขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงพืชสำคัญให้กระชับ เพื่อให้ได้ข้อมูลไปใช้ประโยชน์รวดเร็วยิ่งขึ้น เช่น การแจ้งปลูกข้าว ต้องแจ้งหลังปลูกภายใน 15 - 60 วัน เพิ่มการจัดเก็บข้อมูลเครื่องจักรกลการเกษตร 9 หมวด คือ 1) เครื่องต้นกำลัง 2) เครื่องมือเตรียมดิน 3) เครื่องปลูก/เครื่องมือหยอด 4) เครื่องมือดูแลรักษา 5) เครื่องมือเก็บเกี่ยว 6) เครื่องสูบน้ำ 7) รถบรรทุกการเกษตร 8) เครื่องมือหลังการเก็บเกี่ยว 9) ระบบให้น้ำทางท่อ

การขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร

การขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกร เกษตรกรมาแจ้งหลังปลูก 15 วัน รณรงค์ให้ อกม. จัดเก็บ เพิ่มเติม FAARMis PC สำนักงานเกษตรอำเภอ เครื่องอ่านบัตรsmart card หลักฐาน บัตรประชาชน สำเนาเอกสารสิทธิ์(พื้นที่ใหม่) สัญญาเช่า(พื้นที่ใหม่) แบบคำร้อง ทบก 01(รายใหม่) หน่วยประมวลผลกลาง กสก

จัดพิมพ์รายชื่อ และข้อมูลการแจ้งปลูก การตรวจสอบ จัดพิมพ์รายชื่อ และข้อมูลการแจ้งปลูก รายเดิม รายใหม่/แปลงใหม่ ติดประกาศรายชื่อ ในชุมชน ที่ประชาชนมองเห็นสะดวก FAARMis/GISagro/Qgis วัดพิกัดแปลงด้วยGPS คัดค้าน ไม่คัดค้าน ถูกต้อง

เกษตรกรต้องแจ้งปลูกข้าวหลังปลูก 15 - 60 วัน กรอบระยะเวลา ปี 2560 เกษตรกรต้องแจ้งปลูกข้าวหลังปลูก 15 - 60 วัน

กรอบระยะเวลา ปี 2560 (ต่อ)

กรอบระยะเวลา ปี 2560 (ต่อ)

แบบคำร้องทะเบียนเกษตรกร ในแบบคำร้องจะมีข้อความ 3 หน้า ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลเครื่องจักรกลการเกษตร ข้อมูลการประกอบกิจกรรมการเกษตร 1

แบบคำร้องทะเบียนเกษตรกร 3 2

สมุดทะเบียนเกษตรกรและรายงานผลจากระบบฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร สมุดทะเบียนเกษตรกร ถือว่าเป็นเอกสารที่ใช้แสดงสถานภาพ การเป็นเกษตรกร ออกให้ภายหลังจากที่ได้ขึ้นทะเบียนเกษตรกรเรียบร้อยแล้ว  ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานครัวเรือน สมาชิกในครัวเรือน การถือครองที่ดิน  ข้อมูลกิจกรรมการเกษตร

รายงานจากระบบฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร เจ้าหน้าที่สามารถเรียกดูรายงานได้จากฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร โดยเลือกเมนู รายงาน แล้วคลิกเลือกรายงานที่ต้องการ

มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร ปี 2560/61 ครม. มีมติเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2560 เรื่อง การช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพ ข้าวให้แก่เกษตรกรรายย่อยผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2560/61 กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2560/61 ที่ขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าวฯ ปีการผลิต 2560/61 กับกรมส่งเสริมการเกษตร วิธีการช่วยเหลือ โดยจ่ายเงินช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวแก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวหอมมะลิ ข้าวเหนียว ข้าวเจ้า และข้าวปทุมธานี 1 ในอัตราไร่ละ 1,200 บาท ไม่เกินรายละ 10 ไร่

การตรวจสอบสิทธิ์ของเกษตรกร

การขอรับความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติด้านพืช ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2556

การรายงานสถานการณ์เบื้องต้น เมื่อเกิดภัยพิบัติ อำเภอรายงานเหตุด่วนสาธารณภัยให้จังหวัด เพื่อเสนอคณะกรรมการ ก.ช.ภ.จ. พิจารณาร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัดในการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน

เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัด และคณะกรรมการ ก. ช. ภ. จ เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัด และคณะกรรมการ ก.ช.ภ.จ.มีมติ ให้ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน อำเภอประกาศ ให้เกษตรกรยื่นแบบความ จำนงขอรับความช่วยเหลือ เกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ ด้านพืช (แบบ กษ.01)

แบบยื่นความจำนงขอรับความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ ด้านพืช แบบ กษ 01 4. พื้นที่ปลูก 5. พื้นที่ได้รับความเสียหาย (ทั้งหมด) 6. พื้นที่ขอรับความช่วยเหลือ (ไม่เกิน 30 ไร่)

7. รับรองข้อมูลความเสียหาย ผู้รับรอง ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน นายก อบต. นายกเทศมนตรี