การเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1 Utilization of New Trade Lanes in CLM : Synchronization of Practices and Regulations Dr.Tanit Sorat Vice Chairman of Federation of Thai Industries (F.T.I.)
Advertisements

“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
บทบาทภารกิจที่ เปลี่ยนแปลงของ สสจ. หลัง ยกเลิกการเป็น สปสช. สาขาจังหวัด นางประภาพร บรรยงค์ หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ. ขอนแก่น.
แนวทางการตรวจ ราชการ นพ. ธีรพล โตพันธานนท์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข
สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม 1 โดย ดร.สมนึก คีรีโต ผู้อำนวยการ สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์
Kunming University of Science and Technology, China
ศพก. ระดับปานกลาง (B) 401 ศูนย์
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ฉบับทบทวน
เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555
ปัญหายาเสพติดแนวชายแดน
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
Co-Create Charoenkrung
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย อุตสาหกรรม 4
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
ASEAN Becomes Single Market
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
ชวนคิดชวนคุยลุยงาน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
“Exports and Overseas Investment” ณ โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทรัล พลาซา
EEC : EASTERN SPECIAL ECONOMIC CORRIDOR อีอีซี : เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก.... กรณีศึกษา : มิติการลงทุนและการจ้างงาน โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
บทบาทของอาเซียนต่อประเทศไทย
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
การรวมกลุ่มประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การรวมกลุ่มประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
ทิศทางการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดล้อม ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0
ทิศทางโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ในยุคประเทศไทย 4.0
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561
1.โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนอีสานศตวรรษที่ 21 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
อาหารและการเกษตรไทย ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
ประเทศไทย 4.0 โมเดลการขับเคลื่อนสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของ
“พัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปี พ.ศ ”
ปี 2559 : ผู้ประกอบการพร้อมหรือยัง..... กับการรับมือเศรษฐกิจซึมยาว
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
ข้อกำหนดการศึกษา (TERM OF REFERENCE)
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA)
การสื่อสารจากกระทรวงไปสำนักงานพาณิชย์จังหวัด
ฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานภาครัฐทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Science and Technology Infrastructure Databank (STDB)
The Association of Thai Professionals in European Region
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
2017 edition of "The World of Organic Agriculture"
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
ASEAN-Swiss Partnership for Social Forestry and Climate Change
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ CLMV
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
สรุปงาน กศน.อำเภอไพศาลี ประจำเดือน มกราคม 2559
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
Logistics : a Key for Thailand’s Food Hub การสัมมนา “Food Challenges Toward AEC” (Bitec Bangna) โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของ Meetings
ยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฎิรูปการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่น
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
Efficiency & Competitiveness Support Factor & Strategy Driver
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียน ทีปรัตน์ วัชรางกูร ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สศช. โครงการสัมมนาเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียน วันศุกร์ที่ 20 มิถุนายน 2557 ณ โรงแรมอรัญเมอร์เมด อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว

ประเด็นนำเสนอ 1 นโยบายและแผนที่เกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน 2 สถานการณ์การพัฒนาพื้นที่ชายแดน 3 เป้าหมายและกรอบแนวคิดการพัฒนาพื้นที่ชายแดน 4 ประเด็นท้าทาย

นโยบายและแผนที่เกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน 1 นโยบายและแผนที่เกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน

สร้างความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนาเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (2555-2559) ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม สร้างความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนาเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ร่วมเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจในภูมิภาคโดยพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ / เคลื่อนย้ายแรงงาน / ส่งเสริมแรงงานไทยใน ต่างประเทศ มีส่วนร่วมในการป้องกันภัยจากการก่อการร้ายและ อาชญากรรม ยาเสพติด ภัยพิบัติ การแพร่ระบาดโรค สร้างความร่วมมือเพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อย่างมีจริยธรรม ไม่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม เร่งรัดการใช้ประโยชน์จากข้อตกลงการค้าเสรีที่มีผลบังคับใช้ แล้ว ส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานธุรกิจในเอเชียและสนับสนุนบทบาท ขององค์กรระหว่างประเทศที่ไม่แสวงหากำไร ปรับปรุงและสร้างความเข้มแข็งของภาคีการพัฒนาในท้องถิ่น RCEP GMS IMT-GT ASEAN ASEAN+3 BIMSTEC ACMECS APEC อนุภูมิภาค อาเซียน เอเชียแปซิฟิค เชื่อมโยงการขนส่ง / โลจิสติกส์ โดยพัฒนาบริการ คน ปรับปรุง กฎระเบียบ พัฒนาฐานการผลิต/ลงทุน ตามแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจ และพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน สร้างความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยพัฒนาบุคลากร เสริมสร้างสถาบันการเรียนรู้ให้มีมาตรฐาน เข้าร่วมเป็นภาคีความร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ ระดับโลกและภูมิภาค

2. ASEAN Connectivity and Sub-Regions Master Plan on ASEAN Connectivity Connect economically and socially as to mutually benefit from regional cooperation Ensure trust with neighbors Reduce development divide Provide development support in form of equitable development partnerships. Major Projects : ASEAN & National Single Window International Highway SKRL(Singkapore-Kunming Railway Linkage) Road and Railway linking Dawei Information superhighways ASEAN Power Grid In Thailand national well-being has been in concern for development since the 8th National Economic and Social Development Plan (1997-2001)

3. ประเด็นยุทธศาสตร์ประเทศ 1. Growth & Competitiveness 2. Inclusive Growth ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม - พัฒนาคุณภาพชีวิต/บริการสาธารณสุข - พัฒนาระบบสวัสดิการ สร้างโอกาสและรายได้แก่ SMEs และเศรษฐกิจชุมชน - พัฒนาการศึกษา - พัฒนาทักษะแรงงาน - ส่งเสริมการเข้าถึงยุติธรรมของ ปชช. - สร้างธรรมาภิบาล สร้างองค์ความรู้เรื่องอาเซียน การปรับโครงสร้างภาคการผลิตและบริการ ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ท่องเที่ยว/บริการ เชื่อมโยง ศก. ภูมิภาค Competitiveness Development พัฒนาพื้นที่/เมือง โครงสร้างพื้นฐาน พลังงาน วิจัยและพัฒนา พัฒนากระบวน การจัดสรรงบประมาณ พัฒนาสินทรัพย์ราชการที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ เสริมสร้างความมั่นคง ปฏิรูปการเมือง ปฏิรูปกฎหมาย ปรับโครงสร้างระบบราชการ พัฒนากำลังคนภาครัฐ ปรับโครงสร้างภาษี การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการทรัพยากรธรรมขาติ เมือง อุตสาห- กรรมเชิงนิเวศ นโยบายการคลังเพื่อสิ่ง แวดล้อม ลด การปล่อย ก๊าซเรือนกระจก (GHG) การเปลี่ยน แปลงภูมิอากาศ 3. Green Growth 4. Internal Process

10 Priority List จัด Zoning ประเทศ และพัฒนาเมืองที่มีศักยภาพ ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมอนาคต & รักษาฐานอุตสาหกรรมเดิม พัฒนาด่านชายแดน เช่น ด่านบ้านพุน้ำร้อน ด่านเชียงของ ด่านนครพนม ด่านไทย-มาเลเซีย 9 แห่ง พัฒนากฎหมายเพื่อเสริม สร้างบรรยากาศการค้าการลงทุนและตามพันธกรณี ส่งเสริม SMEs & OTOP พัฒนาผลิตภาพผู้ประกอบการ SMEs / ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ประกอบการ SMEs และ OTOP พัฒนาโครงข่ายคมนาคมเชื่อมโยงประตูการค้า รถไฟทางคู่ / รถไฟความเร็วสูง / ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ / ท่าเรือแหลมฉบัง พัฒนาการศึกษา พัฒนาหลักสูตรรองรับอาเซียน / พัฒนาคนให้สอดคล้องความต้องการตลาด / เลื่อนเวลาเปิดปิดภาคเรียนให้ตรงกับอาเซียน จัดทำ software เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ภาคบริการของไทย เช่น Talking dictionary / Software สำหรับแท็กซี่ ส่งเสริมการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากการเปิดประชาคมอาเซียน ปรับโครงสร้างระบบราชการ ลดขั้นตอนการให้บริการด้วย e-Service / ปรับโครงสร้างบุคลากรภาครัฐ / พัฒนาภาษา อังกฤษให้บุคลากรภาครัฐรองรับอาเซียน

พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน การบริหารจัดการ เชิงพื้นที่ 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ชายแดนเชื่อมโยงภูมิภาค กระตุ้นเศรษฐกิจ การพัฒนาความพร้อมของเมืองชายแดน การพัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดน และเขตเศรษฐกิจพิเศษ การส่งเสริมการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวข้ามพรมแดน พัฒนาศักยภาพ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร การเสริมสร้างศักยภาพของ SMEs ให้ได้ประโยชน์จากการพัฒนา การพัฒนาระบบการเงินการธนาคารในบริเวณพื้นที่ชายแดน พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเติบโตของเมือง พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง เชื่อมโยงพื้นที่ใกล้เคียงและประเทศ เพื่อนบ้าน อาทิ ถนน รถไฟ ท่าเรือ สะพาน การอำนวย ความสะดวก การดำเนินงานตามความตกลงการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง การตรวจลงตราเดียว หรือ Single VISA การนำเข้าผลผลิตทางการเกษตรจากโครงการ Contract Farming การดำเนินงาน National Single Window และ Single Stop Inspection การบริหารจัดการ เชิงพื้นที่ การกำหนดแผนการพัฒนา และแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เหมาะสม การวางผังเมืองและผังเฉพาะ จัดทำ Zoning การพัฒนา บูรณาการเตรียมการรองรับผลกระทบเชิงสังคมและสิ่งแวดล้อม จัดระเบียบแรงงานข้ามพรมแดน การพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกและจัดระบบการตรวจปล่อยคนและสินค้า ณ ด่านพรมแดน อาทิ ที่ทำการของศุลกากร และหน่วยงาน ICQ ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ รวมถึงพื้นที่ CCA

Trade & Invest 5. ภาพรวมโครงการที่สำคัญภายใต้ Implementation Blueprint 2012-2016 (IMT-GT) Infrastructure การพัฒนาเขต เศรษฐกิจชายแดน การพัฒนาด่านศุลกากรชายแดน การพัฒนาท่าเรือฝั่งตะวันตก การพัฒนาศูนย์กระจายสินค้า (ทุ่งสง) การพัฒนาทางด่วนพิเศษ (Motorways) Trade & Invest การปรับปรุงกฎระเบียบทางการค้า-การลงทุน การส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การปรับปรุงระบบ CIQs Tourism การส่งเสริมกิจกรรม การท่องเที่ยว เส้นทางใหม่ การเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวกับประเทศเพื่อนบ้าน การสนับสนุนและส่งเสริมมาตรการด้านการท่องเที่ยว HALAL การพัฒนามาตรฐาน ด้านอาหารฮาลาล การส่งเสริมโอกาสทางเศรษฐกิจด้านฮาลาล อาทิ ธุรกิจเกี่ยวเนื่องด้านอาหาร ด้านการท่องเที่ยว ด้านสินค้าบริโภคอุปโภค Agriculture การพัฒนาและ ปรับปรุงพันธ์ปศุ สัตว์ เพื่อเพิ่มโอกาส ทางเศรษฐกิจ อาทิ แกะ แพะ สัตว์น้ำ การพัฒนาตลาดกลางเพื่อขยายช่องทางในการกระจายสินค้า การส่งเสริมการเลกเปลี่ยนความรู้ด้านการเกษตร HRD การพัฒนาบุคลากร เพื่อเสนอตอบ ตลาดแรงงานใน ภูมิภาค การพัฒนาองค์ความรู้และเสริมทักษะวิชาชีพที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่ สร้างความร่วมมือด้าน HR ระหว่างประเทศ

การส่งเสริมการค้าชายแดน 6. การส่งเสริมการค้าชายแดน ระดับการค้า การส่งเสริมการค้าชายแดน จัดกิจกรรม Road Show/Trade Mission และงานแสดงสินค้าเพื่อส่งเสริมการตลาด พัฒนาเส้นทางการขนส่ง ด่านชายแดน ปรับปรุงกระบวนการข้ามแดน (CIQ) และผลักดันการดำเนินงาน National Single Window และ Single Stop Inspection การออกกฎหมายเพื่อรองรับการขนส่งข้ามพรมแดน พัฒนาศักยภาพการแข่งขันในสินค้าของภาคและระบบโลจิสติกส์ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกในพื้นที่ เช่น ICD ศูนย์กระจายสินค้า ร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการปักปันเขตแดนให้มีความชัดเจน พัฒนาระบบควบคุมและป้องกันปัญหาด้านความมั่นคง พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ เขตอุตสาหกรรมชายแดน และเชื่อมโยงการผลิตร่วมกัน การค้าระหว่างประเทศ เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในระดับท้องถิ่น พัฒนาตลาดชายแดนให้ได้มาตรฐาน และอำนวยความสะดวกในการข้ามแดน ส่งเสริมศักยภาพของผู้ประกอบการท้องถิ่นให้สามารถแข่งขันได้ พัฒนาด่านและโครงสร้างพื้นฐานสนับสนุนการค้าและการขนส่งระดับท้องถิ่นให้ได้มาตรฐาน การค้าตลาดชายแดน

สถานการณ์การพัฒนาพื้นที่ชายแดน 2 สถานการณ์การพัฒนาพื้นที่ชายแดน

สถานการณ์การพัฒนาพื้นที่ชายแดนของประเทศไทย ภาพรวม 31 จังหวัดชายแดนของไทย มีมูลค่า GPP รวมในปี 2555 เท่ากับ 1.83 ล้านล้านบาท คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 15 ของ GDP รวมของประเทศ และ มีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยในช่วง 5 ปี (2550-2555) เท่ากับ ร้อยละ 2.9 การค้าชายแดน มีมูลค่าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วง 6 ปี (2551-2556) โดยในปี 2556 มีมูลค่าสูงถึง 9.24 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2551 ร้อยละ 28.5 คิดเป็นอัตราเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 5.08 ต่อปี รวมถึงมีสัดส่วนสำคัญในการค้าหว่างประเทศของไทย กับประเทศเพื่อนบ้านมาโดยตลอด บทบาทของเมืองชายแดน ส่วนใหญ่เป็นด้านโลจิ สติกส์และการค้าข้ามพรมแดนที่เชื่อมโยงกับฐานผลิต ในภาคกลางของประเทศ แต่ยังไม่มีฐานการผลิตหลัก ในพื้นที่ Border Development ตารางมูลค่าการค้าชายแดนไทย-ประเทศเพื่อนบ้าน

การค้าชายแดนภาคกลาง (ไทย-เมียนมาร์ / ไทย- กัมพูชา) การค้าชายแดนภาคกลาง (ไทย-เมียนมาร์ / ไทย- กัมพูชา) มูลค่าการค้าชายแดนภาคกลางกับประเทศเพื่อนบ้าน ปี 2556 ด่านศุลกากร ล้านบาท สัดส่วน (%) นำเข้า ส่งออก มูลค่าการค้า 1. ด่านอรัญประเทศ 8,026 51,626 59,652 28.9 2. ด่านคลองใหญ่ 1,394 25,432 26,826 13.0 3. ด่านจันทบุรี 182 4,753 4,935 2.4 4. ด่านสังขละบุรี 112,989 1,658 114,647 55.6 5. ด่านประจวบคีรีขันธ์ 63 125 188 0.1 รวม 122,654 83,595 206,249 100.0 การค้าชายแดนทั้งประเทศ 364,045 560,196 924,242   ที่มา: ศูนย์เmคโนโลยีสารสานเทศและการสื่อสาร กรมการค้าต่างประเทศ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร ไทย-กัมพูชา ไทย-เมียนมาร์ การค้าชายแดนพื้นที่ภาคกลางมีมูลค่า 2 แสนล้านบาท คิดเป็นร้อยละกว่า 22.3 ของมูลค่าการค้าชายแดนทั่วประเทศ โดยร้อยละ 55.6 เป็นมูลค่าการค้าผ่านด่านสังขละบุรี ในจังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการนำเข้าก๊าซธรรมชาติ สินค้าส่งออกสำคัญ ได้แก่ น้ำมันเชื้อเพลิง รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องดื่ม และน้ำตาลทราย เป็นต้น สินค้านำเข้า ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ โค แร่พลวง วงกบ บานประตู หน้าต่าง ไม้ไผ่ลำ เฟอร์นิเจอร์ทำด้วยไม้ กระบือ ไม้คิ้วบัว ขี้เลื่อย เสื้อผ้าเก่าใช้แล้ว และเศษกระดาษ เป็นต้น

โครงการพัฒนาพื้นที่ชายแดนที่สำคัญ การปรับปรุงช่องทางเดิน, เคาน์เตอร์ตรวจการผ่านแดนและภูมิทัศน์โดยรอบบริเวณจุดผ่านแดนถาวรบ้านคลองลึก (กจ./2555) การก่อสร้างอาคารตรวจการผ่านแดนและปรับปรุงช่องทางเดิน พร้อมรั้ว มาตรฐานบริเวณจุดผ่านแดนบ้านเขาดิน 10 ลบ. (กจ./2555) การเปิดจุดผ่อนปรนบ้านโนนหมากมุ่น 4.4 ลบ. การพัฒนาด่านชายแดนและปรับปรุงระบบการให้บริการประชาชน จุดผ่านแดนบ้านคลองลึก อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว 37.5 ลบ. (ครม. สัญจร/2556) การศึกษาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ การปรับปรุงด่านเจดีย์สามองค์ เพื่อพัฒนาเป็นจุดผ่านแดนถาวร 5.46 ลบ. (ครม.สัญจร/2555) การขยายผิวจราจรทางหลวง หมายเลข 3512 สายลำทราย - พุน้ำร้อน (กม.0+000-กม.9+600) 17.24 ลบ. (ครม.สัญจร/2555) การจัดตั้งด่านศุลกากรบริเวณจุดผ่านแดนถาวรบ้านพุน้ำร้อน 14.5 ลบ. (ครม.สัญจร/2555) การก่อสร้างอาคารชั่วคราวที่ทำการด่านศุลกากรและการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณด่านชายแดนบ้านพุน้ำร้อน 16.48 ลบ. (ครม.สัญจร/2555) การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพแหล่งน้ำต้นทุน 10 ลบ. (ครม.สัญจร/2555) การวางผังชุมชน ชายแดนบ้านพุน้ำร้อน 4.2 ลบ. (กจ./2555) การจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน 10 ลบ. (จ.2556) การจัดทำแผนปฏิบัติการและสำรวจออกแบบศูนย์ราชการชายแดนบ้านพุน้ำร้อน 6 ลบ. (กจ./2556) การศึกษาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ การพัฒนาศูนย์การค้าและการท่องเที่ยวชายแดนไทย- กัมพูชา ช่องผักกาด 10 ลบ. (จ./2555) การก่อสร้างศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ด่านถาวรบ้านผักกาด เพื่อรองรับการค้าและการท่องเที่ยวชายแดน และเศรษฐกิจประชาคมอาเซียน 45 ลบ. (ครม.สัญจร/2555) การก่อสร้างจุดตรวจสินค้านำเข้า-ส่งออกเพื่ออำนวยความสะดวกทางการค้าและพิธีทางศุลกากร 5 ลบ. (จ./2555) การพัฒนาระบบการคมนาคมขนส่งโลจิสติกส์เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน ทล.3157 – บ้านเนินสี่ร้อย ตำบลนนทรี อำเภอเมือง จังหวัดตราด 29 ลบ (ครม.สัญจร/2555) การพัฒนาระบบสนับสนุนการนำเข้า-ส่งออก และอำนวยความสะดวกทางการค้ากับประเทศเพือนบ้าน 4.75 ลบ. (จ./2556) การก่อสร้างถนนเข้าลานตรวจสินค้าและ อาคารคลังสินค้า ด่านศุลการกรคลองใหญ่ ต.ไม้รูด อ.คลองใหญ่ จ.ตราด 30 ลบ. (จ./2557) การศึกษาความเหมาะสมของโครงการพัฒนาด่านสิงขร 12.62 ลบ. (ครม.สัญจร/2555) การพัฒนาด่านสิงขร 2.3 ลบ. (จ./2555)

เป้าหมายและกรอบแนวคิดการพัฒนาพื้นที่ชายแดน 3 เป้าหมายและกรอบแนวคิดการพัฒนาพื้นที่ชายแดน

เป้าหมายและ Concept การพัฒนาพื้นที่ชายแดน “เมืองชายแดนมีจุดที่ตั้งที่ได้เปรียบในการเชื่อมโยงกับภูมิภาค จึงควรส่งเสริมการพัฒนาในลักษณะ คลัสเตอร์เชื่อมโยงกับพื้นที่ตอนใน/จังหวัดอื่นๆ เพื่อสร้างกิจกรรมที่มีมูลค่าเพิ่ม และเพื่อให้พื้นที่สามารถสร้างประโยชน์จากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้ โดยไม่เป็นเพียงทางผ่าน รวมถึงกระจายประโยชน์ในการพัฒนา และเพิ่มรายได้ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ” “แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 กำหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่ชายแดนให้เป็นประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงภูมิภาค สร้างเครือข่ายระบบการผลิตร่วมที่สร้างสรรค์ เพื่อบรรลุผลประโยชน์ร่วมกันทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง รวมถึงตั้งเป้าหมายการขยายตัวมูลค่าการค้าชายแดนของไทยให้เท่ากับร้อยละ 15 ต่อปี” Local Link - Global Reach Smart & Green City Inclusive Development เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความมั่นคง ชายแดน

“เขตเศรษฐกิจพิเศษ” เครื่องมือสำคัญในการพัฒนาชายแดน พื้นที่เป้าหมายในระยะแรก 11 แห่ง เพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขันของพื้นที่ เพื่อสร้างประโยชน์จากความเชื่อมโยงกับฐานการผลิตหลักของประเทศ/ภาค/และประเทศในภูมิภาค ดึงดูดการลงทุนจากในและต่างประเทศ และตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาประเทศในภาพรวม มีการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์พื้นที่และการส่งเสริมกิจกรรมในพื้นที่อย่างเป็นระบบ ได้มาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ คุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ดีขึ้น มีการจ้างงานและเพิ่มรายได้ให้ชุมชน รวมถึงมีกฎระเบียบและแนวทางการกำกับดูแลผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ได้มาตรฐานและมีการบังคับใช้ที่เข้มแข็ง แก้ปัญหาข้อจำกัดเดิมในพื้นที่และการป้องกันผลกระทบเชิงลบต่างๆ เช่น ปัญหาขาดแคลนแรงงานไร้ทักษะ ปัญหาสิ่งแวดล้อม หรือความแออัดของด่านพรมแดน เป็นพื้นที่ลำดับความสำคัญสูงที่ได้รับการสนับสนุนเชิงนโยบายและงบประมาณ และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานจากภาครัฐ สามารถเสริมสร้างศักยภาพความแข็งแกร่งของหน่วยงาน ภาคเอกชน และชุมชนในพื้นที่ตั้งแต่การวางแผน บริหารจัดการ และการติดตามประเมินผล แม่สาย เชียงแสน เชียงของ แม่สอด สะเดา พื้นที่ชายแดน จ.กาญฯ พื้นที่ชายแดน จ.นครพนม พื้นที่ชายแดน จ.มุกดาหาร พื้นที่ชายแดน จ.สระแก้ว จ.หนองคาย จ.บึงกาฬ พื้นที่ชายแดน จ.หนองคาย

การกำหนดขอบเขตของ “เขตเศรษฐกิจพิเศษ” จังหวัด ก. ถนน ทางรถไฟ ท่าเรือ ท่าอากาศยาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โทรคมนาคม ระบบไฟฟ้า ประปา ออฟฟิศ โรงงานผลิตสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า ศูนย์วิจัยพัฒนา ระบบการจัดการสินค้าผ่านแดน เขตเศรษฐกิจพิเศษ คลังสินค้า ระบบศุลกากร ธุรกิจสนับสนุน ตลาด วัตถุดิบการผลิต แรงงาน ที่พักอาศัย ที่มา : Expert & Effinity Analysis

การวิเคราะห์บทบาทของพื้นที่เป้าหมาย ที่มา : โครงการศึกษาแผนยุทธศาสตร์การพัฒาเขตเสรษฐกิจพิเศษ (รายงานขั้นกลาง 1)

4 ประเด็นท้าทาย

ทิศทางการพัฒนาภาคกลาง กลางบน 1 Connectivity GMS Corridor (NSEC) (อยุธยา) รถไฟรางคู่สายใหม่(อยุธยา) รถไฟรางคู่(สระบุรี) Economic ฐานอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวมรดกโลก เกษตรปลอดภัยครบวงจร ด่านเจดีย์สามองค์ กลางบน 2 Connectivity รถไฟรางคู่(ลพบุรี) Economic เกษตรปลอดภัยครบวงจร ท่องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร์ รถไฟรางคู่ รถไฟความเร็วสูง ด่านบ้านพุน้ำร้อน SEC ด่านคลองลึก สนามบินสุวรรณภูมิ ด่านบ้านแหลม กลางล่าง 1 Connectivity GMS Corridor (SEC) (กาญจนบุรี) รถไฟรางคู่(นครปฐม ราชบุรี) Economic การค้าชายแดน/เขตเศรษฐกิจพิเศษเชื่อมทวาย ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เกษตรปลอดภัย/อุตสาหกรรม แปรรูปเกษตรที่ได้มาตรฐาน รถไฟรางคู่ รถไฟความเร็วสูง ท่าเรือแหลมฉบัง ด่านบ้านผักกาด กลางตอนกลาง Connectivity GMS Corridor (SEC) (ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว) รถไฟความเร็วสูง (ฉะเชิงเทรา) Economic ประตูการค้าสากล (สุวรรณภูมิ) ฐานอุตสาหกรรมใหม่เชื่อม ESB เขตเศรษฐกิจพิเศษ ชายแดนเชื่อมอินโดจีน SEC ท่าเรือมาบตาพุด ด่านสิงขร ด่านบ้านหาดเล็ก ตะวันออก Connectivity GMS Corridor (SEC) (ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) รถไฟความเร็วสูง(ชลบุรี ระยอง) Economic ฐานอุตสาหกรรมหลัก 2) ท่องเที่ยวระดับสากล แหล่งผลไม้ 4) การค้าชายแดน กลางล่าง 2 Connectivity รถไฟความเร็วสูง (ประจวบฯ) Economic ท่องเที่ยวทางทะเล/เชิงนิเวศน์ Hub of seafood การบริหารจัดการน้ำ (พื้นที่ปลายน้ำ) ฐานอุตสาหกรรม/เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ความหลากหลายของการท่องเที่ยว/เกษตรกรรม การบริหารจัดการมลพิษ การกัดเซาะชายฝั่งทะเล

แนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองชายแดน เมืองชายแดนที่สำคัญ ได้แก่ ตาก เชียงราย หนองคาย มุกดาหาร สระแก้ว กาญจนบุรี สงขลา และนราธิวาส พัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง ระบบโลจิสติกส์ มาตรฐานการให้บริการ และการอำนวยความสะดวกบริเวณจุดผ่านแดน เพื่อสนับสนุนการ พัฒนาการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับประชาคมอาเซียน เสริมสร้างและขยายโอกาสการพัฒนาเขตประกอบการอุตสาหกรรม ตามแนวชายแดน โดยการพัฒนาปรับปรุงโครงข่ายบริการพื้นฐานและ สิ่งแวดล้อมบริเวณชายแดนให้เป็นระบบ สอดคล้องกับความต้องการลงทุนของ ภาคเอกชน เช่น นิคมอุตสาหกรรม คลังสินค้า ระบบการบริหารจัดการน้ำเพื่อ การผลิตในภาคอุตสาหกรรม ขยายการบริการต่างๆ อาทิ การบริการด้านการเงิน การศึกษา และการ สาธารณสุข เพื่อให้เกิดความสะดวกสบายในการประกอบธุรกิจ สนับสนุนการจัดการพื้นที่เมืองและชุมชนชายแดน รองรับการขยายตัว ทั้งในด้านการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และที่พักอาศัย โดยเฉพาะ สนับสนุนการวางผังเมืองรวมเมือง/ชุมชนชายแดน เพื่อ จัดระเบียบการใช้ ประโยชน์ที่ดินให้เหมาะสม และพัฒนาเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมขนส่งให้มี ประสิทธิภาพ (5) เร่งปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการชายแดน อาทิ แรงงานต่างด้าว ปัญหา ยาเสพย์ติด การค้ามนุษย์ ฯลฯ และเร่งสร้างความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน ในจุดผ่านแดนถาวร 12 แห่ง (ไทย-เมียนมาร์ 3 แห่ง, ไทย-สปป.ลาว 5 แห่ง ไทย-กัมพูชา 1 แห่ง และไทย-มาเลเซีย 3 แห่ง) ที่มา : เส้นทางประเทศไทยสู่ประชาคมอาเซียน สศช. 22

ประเด็นท้าทายการพัฒนาพื้นที่ชายแดนภาคกลางกับการเปิดประชาคมอาเซียน การพัฒนาและการลงทุน ในพื้นที่เศรษฐกิจชายแดน ปัญหาการปักปันเส้นเขตชายแดนไทย-เพื่อนบ้านที่ยังไม่ชัดเจน ปัญหาการกระทำ ที่ผิดกฎหมายอาจมี มากขึ้นต่อเนื่อง การบูรณาการของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการทำงาน เรื่องชายแดน

ขอบคุณ www.nesdb.go.th