การผลิตสัตว์เศรษฐกิจ เกษตรเบื้องต้น 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Nickle.
พวกเราต่างคิดว่าการกินผลไม้เป็นเรื่องง่ายๆ แค่ซื้อมา แล้วก็ปอก จากนั้นก็หยิบเข้าปากเท่านั้น คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่าถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร.
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
การจัดการความรู้ KM อำเภอเสนางคนิคม.
ผัก.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
โครเมี่ยม (Cr).
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
เรื่อง การทำน้ำสกัดชีวภาพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
กลุ่มอาการของคนเนื่องจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อบางส่วน
ระดับความเสี่ยง (QQR)
การรักษาดุลภาพของเซลล์
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
มาทำความรู้จักกับ เห็ดปลวกฟาน.
มาทำความรู้จักกับ มาทำความรู้จักกับ เห็ดหูหนูขาว.
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Nutritional Biochemistry
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
World Time อาจารย์สอง Satit UP
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ครูปฏิการ นาครอด.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
ระบบย่อยอาหาร.
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
Structure of Flowering Plant
ศาสนาเชน Jainism.
รู้เรื่องยา แท้งปลอดภัย
การทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
นำเสนอโดย ABC DEFG คณะเกษตรศาสตร์สาขา สัตวศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การผลิตสัตว์เศรษฐกิจ เกษตรเบื้องต้น 2 วิชาการเกษตรเบื้องต้น 2 ส่วนระบบย่อยอาหารและระบบสืบพันธุ์ การผลิตสัตว์เศรษฐกิจ เกษตรเบื้องต้น 2 ระบบย่อยอาหาร และการสืบพันธุ์ รศ.ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล

2. สัตว์ไม่เคี้ยวเอื้อง 1. ออกลูกเป็นตัว 1.1. ครั้งละ1-2 ตัว สัตว์เศรษฐกิจสามารถแบ่งออกตามอาหาร/ระบบการย่อยอาหารและการสืบพันธุ์ได้ดังนี้ อาหารที่กิน 1.กินพืช(herbivores) 2. กินเนื้อ (carnivores) 3. กินพืชและสัตว์ (omnivores) ระบบย่อยอาหาร 1. สัตว์เคี้ยวเอื้อง 2. สัตว์ไม่เคี้ยวเอื้อง ระบบสืบพันธุ์ เพศเมีย 1. ออกลูกเป็นตัว 1.1. ครั้งละ1-2 ตัว 1.2. ออกเป็นครอก (หลายตัว) 2. ออกเป็นไข่

ตามอาหารที่กิน 1. กินพืช(herbivores) เช่น วัว ควาย แพะ แกะ 2. กินเนื้อ (carnivores) เช่น เสือ สิงโต 3. กินพืชและสัตว์ (omnivores) เช่น หมู คน แตกต่างที่ระบบย่อยอาหาร

ระบบย่อยอาหาร 1. สัตว์ไม่เคี้ยวเอื้อง (Non ruminant) หรือสัตว์กระเพาะเดี่ยว (Mono gastric) เช่น หมู คน มีกระเพาะเดียว(ส่วนที่หลั่งกรดเกลือและน้ำย่อยเพื่อย่อยอาหาร) 2. สัตว์เคี้ยวเอื้อง (Ruminant) หรือสัตว์กระเพาะรวม (Poly gastric) เช่น วัว ควาย มีกระเพาะเดียว แต่แบ่งเป็น 4 ห้อง (บางครั้งเรียกเป็นสี่กระเพาะ) มีส่วนเดียวที่หลั่งกรดเกลือ อีก 3 ส่วนทำหน้าที่อื่น

สุกร (หมู) ท่ออาหาร(Esophagus) กระเพาะ (Stomach) ตับ/ม้าม (Liver/Spleen) ลำไส้เล็ก (Small intestine) ลำไส้ใหญ่ (Large intestine) (มี ไสติ่ง (Cecum)ขนาดใหญ่ หรือกระพุ้งลำไส้ใหญ่)

cecum

ไก่ ปาก ไม่มีฟัน ท่ออาหาร (Esophagus) มีส่วนขยายเป็นที่เก็บอาหาร (Crop) มีส่วนบดอาหารเรียกว่า กึ๋น (Gizzard) มีส่วนหลั่งกรดและน้ำย่อยหรือกระเพาะ (Proventiculus) ลำไส้เล็ก (มีไส้ติ่ง 1 คู่ขนาดยาว) ลำไล้ใหญ่ และมีท่อรวมอุจจาระและปัสสาวะ (Cloaca)

โค(วัว) ท่ออาหาร (Esophagus) กระเพาะแบ่งเป็น 4 ส่วน 1. กระเพาะหมัก (Rumen) ผนังด้านในคล้ายผ้าขี้ริ้ว มีจุลินทรีย์ช่วยหมักหญ้า 2. รังผึ้ง (Reticulum) ผนังด้านในรูป6 เหลี่ยมรังผึ้ง ไว้ดักสิ่งแปลกปลอมเช่น เหล็ก หรือ ตะปู 3. สามสิบกลีบ (Omasum) ผนังด้านในเป็นกลีบริ้วๆ ไว้ดูดซึมน้ำกลับให้อาหารแห้งก่อนส่งเข้ากระเพาะแท้ 4. กระเพาะแท้ (Abomasum)หลั่งกรด และน้ำย่อย

ข้อได้เปรียบของสัตว์เคี้ยวเอื้อง ความจุกระเพาะมาก (ประมาณ 100-200 ลิตร) กินอาหารได้เยอะ โดยเฉพาะอาหารหยาบ (หญ้า ถั่ว) ที่สัตว์อื่นหรือมนุษย์ใช้ไม่ค่อยได้ ใช้อาหารพวกหยาบที่มีเยื่อใยสูง(หญ้า) ได้ดี เพราะมีจุลินทรีย์ช่วยย่อยในกระเพาะหมัก (Rumen) สังเคราะห์วิตามินที่ละลายน้ำ B และ วิตามิน K ได้ (โดยใช้จุลินทรีย์ช่วยสังเคราะห์)

4. ใช้ไนโตรเจนที่ไม่อยู่ในรูปของโปรตีน (Non protein nitrogen; NPN) (เช่นปุ๋ยไนโตรเจน) มาเปลี่ยนให้เป็นโปรตีนในร่างกายได้(โปรตีนต้องมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ) โดยจุลินทรีย์จะใช้ NPN ในการเจริญเติบโต และกระเพาะวัวก็จะย่อยเซลล์ของจุลินทรีย์ให้เป็นกรดอะมิโนและร่างกายวัวก็จะนำไปสร้างเป็นโปรตีนอีกทีหนึ่ง

ข้อเสียเปรียบของสัตว์เคี้ยวเอื้อง 1.ประสิทธิภาพในการใช้อาหารต่ำ - ต้องใช้อาหารในปริมาณมากในการโต - สูญเสียจากขบวนการหมักของกระเพาะรูเมน ในรูป ก๊าซมีเทน (methane; CH4) 2. เมื่อกินหญ้าอ่อน หรือถั่วมากๆ อาจเกินสภาวะการเกินฟองในท้องทำให้ท้องอืด (Blot) ทำให้สัตว์หายใจไม่ออกเพราะกระเพาะหมักพองออกมาดันปอดและหัวใจให้ไม่มีพื้นที่ทำงาน สัตว์เกิดอาการท้องอืด และอาจตายได้ ถ้าแก้ไขไม่ทัน

ระบบสืบพันธุ์ เพศผู้ แตกต่างกันทางลักษณะที่ปรากฏ ดังจะกล่าวต่อไป เพศเมีย 1. ออกลูกเป็นตัว 1.1. ครั้งละ1-2 ตัว 1.2. ออกเป็นครอก (หลายตัว) 2. ออกเป็นไข่

อวัยวะสืบพันธ์เพศผู้ 1. อัณฑะ ตำแหน่งที่อยู่ขึ้นกับความต้องการอุณหภูมิที่ต่ำหรือใกล้เคียงกับร่างกายในการผลิตอสุจิ 1.1 โค กระบือ ห้อยอยู่ภายนอก อุณหภูมิต่ำกว่าประมาณ 4-5 °C 1.2 หมู กึ่งห้อยกึ่งติด ต่ำกว่าประมาณ 1-2 °C 1.3 สัตว์ปีก และช้าง อยู่ภายในร่างกาย

2.. ท่ออสุจิ ท่อปัสสาวะ จะบรรจบกันและต่อยาวไปจนถึงปลายอวัยวะเพศหรือลึงค์(Penis) สุกรและไก่ มี ลึงค์เป็นเกลียว 3. ต่อมน้ำกาม ต่อมโฟสเตรส Postrate (สร้างอาหารและสารกระตุ้นอสุจิ) ต่อม เซมินัลเวสซิเคิล Seminal Vesicle (สร้างสารเจือจากอสุจิ) ต่อม คาว์เปอร์ Cowper’s (สร้างน้ำเมือกชำระท่อ)

4. อสุจิ ยาวประมาณ 70 ไมครอน -หัวกลมรีและแบน ยกเว้นไก่ เป็นทรงกระบอก -อายุในอวัยวะเพศเมียประมาณ 24-48 ชม. ยกเว้นไก่ นาน 4 สัปดาห์ ในถุงดักเก็บ อสุจิของเพศเมีย

จำนวนน้ำกามและความเข้มข้น สัตว์ จำนวน(ลบซม.) ต่อครั้ง ความเข้มข้น (ล้านตัว ต่อ ลบซม.) โค 5.0 1,200 หมู 200.0 200 ไก่ 0.7 2,000

อวัยวะสืบพันธุ์เพศเมีย 1. รังไข่ (Ovary) สร้างไข่ สร้างฮอร์โมนเพศเมีย (Estrogen และ Progesterone)

- ไก่ เป็นพวงคล้ายพวงองุ่นแต่มีขนาดต่างๆกันในพวงเดียว หมูเป็นก้อนมีรอยนูนคล้ายลูกน้อยหน่า แต่มีมีขนาดประมาณหัวแม่มือ รูปร่างกลมรี และมีรอยนูน (จากไข่)ที่มีขนาดไม่เท่ากัน โค แพะ แกะ เป็นเม็ดกลมเรียบ

2. ปากแตร (Infundibulum) รองรับไข่ที่ตก 3. ท่อนำไข่ (Oviduct) นำไข่สู่มดลูก 4. มดลูก (Uterus) แบ่งเป็น ตัวมดลูก และ ปีกมดลูก โค แพะ แกะ ตัวอ่อนฝังตัวที่มดลูก หมู ตัวอ่อนฝังตัวที่ปีกมดลูก

5. คอมดลูก (Cervix) ป้องกันสิ่งแปลกปลอม 6. ช่องคลอด (Vagina) เยื่อ (Hymen) 7. ปากช่องคลอด (Vulva)

เวลาการเป็นสัด โค สุกร แกะ รอบการเป็นสัด (วัน) 21 17 เป็นสัดนาน (ชม.) 16 44 30 ตกไข่หลังการเป็นสัด (ชม.) 38 26

การผสม ไข่ตก สู่เยื่อปากกรวย และอสุจิเดินทางมาพบกับไข่บริเวณ ท่อนำไข่ อสุจิแกะ เดินทางถึงท่อนำไข่ภายใน 6 นาที อสุจิโค เดินทางถึงท่อนำไข่ภายใน 2.5 นาที อสุจิแกะได้นาน 22-24 ชม. โค 30 ชม. สุกร 24 ชม. สัตว์ปีก 2-3 สัปดาห์ ไข่มีอายุไม่เกิน 2-3 วัน

การตกไข่ จะตกจากปีกมดลูกข้างใดข้างหนึ่งสลับกันไปในแต่ละรอบการเป็นสัด ยกเว้นสัดปีกที่ระบบสืบพันธุ์เหลือเพียงข้างเดียวคือ ข้างซ้าย การผังตัว ตัวอ่อนของโคหลังการผสมเคลื่อนตัวมาผังตัวที่มดลูก ตัวอ่อนของสุกรหลังผสม มีลูกจำนวนมากจึงผังตัวที่ปีกมดลูกทั้งสองข้าง

ระยะเวลาการอุ้มท้อง (วัน) โค 282 แกะ 150 สุกร 114

การสร้างไข่ (ไก่) รังไข่ พัฒนาเฉพาะด้านซ้าย ไข่ มองด้วยตาเปล่า ประมาณ 1,900 ฟอง ถ้าใช้กล้องจุลทรรศน์ 12,000 ฟอง ไข่จะมีการพัฒนาไข่แดง 10-11 วัน ก่อนการตกไข่ (ในช่องท้อง)(Ovulation) และใช้เวลาอีก 24-26 ชม. (1 วัน) หลังตกไข่เพื่อให้ไข่แดงเดินทางมาพร้อมทั้งการสร้างไข่ขาวและเปลือกไข่ ออกมาเป็นไข่ (laying)

อีสมัส (Isthmus) สร้างเยื่อหุ้มไข่ขาว ปากแตร (Infundibulum) รองรับไข่แดงที่ตกมาจากรังไข่ ใช้เวลา 15-18 นาที แมกนั่ม (Magnum) สร้างไข่ขาว ใช้เวลา (2.5-4 ชม.) เฉลี่ย 2 ชม. 54 นาที อีสมัส (Isthmus) สร้างเยื่อหุ้มไข่ขาว ใช้เวลา (45-80 นาที) เฉลี่ย 1 ชม. 14 นาที และเมื่อไข่ผ่านส่วนนี้ไป จะมีการส่งสัญญาณผ่านระบบฮอร์โมนทำให้ไข่แดงฟองใหม่ตกมาจากรังไข่

รวมเวลาหลังตกไข่ถึงเยื่อหุ้มไข่ 4 ชม. 26 นาที Uterus หรือ Shell gland ส่วนสร้างเปลือกไข่ เป็นกระเปาะ สร้างเปลือกและสี และเมือกหุ้มไข่ (Cuticle) ใช้เวลา (19-22 ชม.) เฉลี่ย 20 ชม. 40 นาที Vagina เป็นส่วนต่อจาก uterus ไปพบกับ Cloaca และร่วมกันเป็นท่อเดียวออกไปทางช่องขับถ่ายที่ก้นไก่

คุณสุรชัย ศิริจรรยา บริษัท CPF ใช้บรรยายให้นักศึกษาเท่านั้น Ovulation 10 นาที 6:00-6:10 ภาพโดย คุณสุรชัย ศิริจรรยา บริษัท CPF ใช้บรรยายให้นักศึกษาเท่านั้น วงรอบการไข่ 20-26 ชั่งโมง

คุณสุรชัย ศิริจรรยา บริษัท CPF ใช้บรรยายให้นักศึกษาเท่านั้น 15 นาที 6:10-6:25 วงรอบการไข่ 20-26 ชั่งโมง ภาพโดย คุณสุรชัย ศิริจรรยา บริษัท CPF ใช้บรรยายให้นักศึกษาเท่านั้น

คุณสุรชัย ศิริจรรยา บริษัท CPF ใช้บรรยายให้นักศึกษาเท่านั้น 3-4 ชั่วโมง 6:25-10:10 วงรอบการไข่ 20-26 ชั่งโมง ภาพโดย คุณสุรชัย ศิริจรรยา บริษัท CPF ใช้บรรยายให้นักศึกษาเท่านั้น

คุณสุรชัย ศิริจรรยา บริษัท CPF ใช้บรรยายให้นักศึกษาเท่านั้น 45-60 นาที 10:10-11:10 ภาพโดย คุณสุรชัย ศิริจรรยา บริษัท CPF ใช้บรรยายให้นักศึกษาเท่านั้น วงรอบการไข่ 20-26 ชั่งโมง

คุณสุรชัย ศิริจรรยา บริษัท CPF ใช้บรรยายให้นักศึกษาเท่านั้น 19-22 ชั่วโมง 11:10-6:10 Calcification (16:10-4:10) ภาพโดย คุณสุรชัย ศิริจรรยา บริษัท CPF ใช้บรรยายให้นักศึกษาเท่านั้น วงรอบการไข่ 20-26 ชั่งโมง

คุณสุรชัย ศิริจรรยา บริษัท CPF ใช้บรรยายให้นักศึกษาเท่านั้น Ovulation 10 นาที 6:00-6:10 3-4 ชั่วโมง 6:25-10:10 15 นาที 6:10-6:25 45-60 นาที 10:10-11:10 19-22 ชั่วโมง 11:10-6:10 Calcification (16:10-4:10) ภาพโดย คุณสุรชัย ศิริจรรยา บริษัท CPF ใช้บรรยายให้นักศึกษาเท่านั้น วงรอบการไข่ 20-26 ชั่งโมง ออกไข่ 6:10