อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
Advertisements

การจัดทำชุดนิทรรศการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
โครงการพัฒนาเทคโนโลยีส่งเสริมสุขภาพในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการพัฒนาเว็บ ไซด์โรงเรียนส่งเสริม สุขภาพ นางเสาวลักษณ์ พัวพัฒ นกุล นางทัศณีย์ ทองอ่อน.
การปรับปรุงคู่มือ การดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
Ultimate outcome Leading output Means Needed Competencies.
ตัวอย่างการเขียน บทที่ 1 บทนำ.
กลุ่มที่ ๔ ภารกิจด้านการประกัน คุณภาพการศึกษา. พัฒนาการของ การดำเนินงานใน แต่ละภารกิจ ปัญหา อุปสรรคและ แนวทางการ แก้ปัญหา บทบาทของ เทคโนโลยี สนับสนุนการ.
การประเมินผลโครงการ.  ชื่อโครงการ  หน่วยงานเจ้าของโครงการ  ผู้รับผิดชอบ  ระยะดำเนินการ  สถานที่ดำเนินการ  งบประมาณ  ผลผลิต  ความสอดคล้องในเชิงยุทธศาสตร์
Draft Application Report
วิจัยเรื่อง: การพัฒนารูปแบบการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ( ร้อยละ 60) ระดับความสำเร็จใน การบรรลุเป้าหมาย  KPI 1. : ระดับกระทรวง และกรม มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการ ให้บริการ ( ร้อยละ 10)
การประชุมเชิงปฏิบัติการ กลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
บริษัท จำกัด Logo company
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ .... (รอบ ... เดือน)
ร่าง ปี 2562 (ณ 8 ก.ย. 60) 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
โครงการสำคัญ ปี 2556 สำนักส่งเสริมสุขภาพ
นโยบาย และนโยบายการศึกษา
รายละเอียดตัวชี้วัดตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
นโยบายแนวทางการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน
กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียงพ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การคำนวณต้นทุนผลผลิต สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
บริษัท จำกัด Logo company
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
แผนแม่บทการจัดการความรู้ ปี
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
รร.มุกดารา เขาหลัก พังงา
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based
นำแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด มาทบทวน
กรอบแนวคิดในการพัฒนา มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
การเตรียมการเพื่อรองรับการตรวจประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย (ตัวชี้วัดศูนย์ดำรงธรรม) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นายรณกฤต อุดมสุขโกศล.
การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
Click to edit Master title style
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
กรอบแนวทางในการจัดทำงบประมาณ แผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ
รายงานสรุปผลการพัฒนา
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
เรื่อง อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
(ร่าง) แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
นายชลี ลีมัคเดช ทีมพัฒนาระบบฯ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
การบริหารและควบคุมกำกับสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
กรอบแนวคิดชุดวิจัย Cluster วัยเรียน
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
แผนงานโครงการที่จะนำไปใช้เพื่อ การแก้ปัญหาสุขภาพหรือบริการ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
จารย์เวิน.
การวางแผนงานสาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการติดตามและประเมินผล โครงการที่ได้รับการสนับสนุน จากกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม ในพ.ร.บ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546

กลไกของการบริหารจัดการ กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ คณะกรรมการบริหารกองทุนระดับจังหวัด คณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการที่ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนฯ คณะกรรมการบริหารกองทุน คณะกรรมการติดตามและประเมินผลกองทุน

อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนฯ รายงานผลการปฏิบัติงาน ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ มีอำนาจเรียกเอกสาร หรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกองทุนฯ จากบุคคล หรือเรียกบุคคลใดมาชี้แจงข้อเท็จจริงเพื่อประกอบการพิจารณาประเมินผลได้

อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล มีอำนาจกำหนดแนวทางติดตามประเมินผล การดำเนินงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมในภาพรวม และโครงการที่ได้รับการสนับสนุนเงินจากกองทุนฯ กำหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือกโครงการต้นแบบระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ

แนวทางการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน กองทุนในภาพรวม การติดตามภาพรวมการใช้จ่ายเงินตามยุทธศาสตร์สวัสดิการสังคม การติดตามประสิทธิภาพกลไกระดับชาติ จังหวัด ท้องถิ่น การติดตามการใช้จ่ายเงินโครงการที่ขอรับการสนับสนุน ทั้งระบบปกติ ระบบกระจาย

แนวทางการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน กองทุนในภาพรวม การสนับสนุน สร้างระบบสวัสดิการจากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ฐานปัญหา ฐานทรัพยากรในระดับชุมชน การเผยแพร่และขยายผลรูปแบบที่ได้รับการคัดเลือกเป็นโครงการต้นแบบในระดับต่าง ๆ

พัฒนาการของการติดตามผลโครงการฯ การพิจารณาภาพรวมของการใช้จ่ายเงินกองทุนในระดับชาติ การพิจารณาประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของกองทุนผ่านระบบกระจาย การพิจารณาประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของโครงการต่าง ๆ ที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ

พัฒนาการของการติดตามผลโครงการฯ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของหน่วยงานที่เป็นผู้ขอรับเงินสนับสนุน องค์กรสาธารณประโยชน์ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ องค์กรสวัสดิการชุมชน

พัฒนาการของการติดตามผลโครงการฯ การติดตามโครงการที่ขอรับการสนับสนุน เป้าหมายการทำงาน การใช้จ่ายเงินตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด การสื่อสารสาระสำคัญของกองทุนฯต่อผู้ขอรับทุน การติดตามรวบรวมหลักฐานเอกสารโครงการ ตามที่ สตง.กำหนด การติดตามผลหลังสิ้นสุดโครงการ การพัฒนาความต่อเนื่อง/ความยั่งยืนของโครงการ

การคัดเลือกโครงการของคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผลฯ การเยี่ยมโครงการในส่วนภูมิภาค ทุกภูมิภาค ภาคละ 2-3 จังหวัด ประมาณปีละ 8-10 จังหวัด หลักเกณฑ์ในการออกเยี่ยมโครงการและสำนักงาน พมจ. โครงการขนาดใหญ่ โครงการที่ขอรับทุนแต่ไม่ได้รับการพิจารณา โครงการที่ได้รับสนับสนุนเงินอย่างต่อเนื่อง โครงการที่หลักฐานเอกสารไม่ครบสมบูรณ์ โครงการที่การดำเนินงานสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กองทุนฯ โครงการที่มีความเสี่ยง

การติดตามการกระจายเงินทุนอย่างเป็นธรรมตามประเภทสวัสดิการสังคม 1.สวัสดิการสังคม 7 ด้าน การบริการสังคม การศึกษา สุขภาพอนามัย ที่อยู่อาศัย อาชีพ รายได้ กระบวนการยุติธรรม นันทนาการ

การติดตามการกระจายเงินทุนอย่างเป็นธรรมตามประเภทสวัสดิการสังคม 2.การอนุรักษ์ ฟื้นฟูวัฒนธรรม ประเพณี 3.การรักษาสิ่งแวดล้อม 4.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น 5.ประเด็นสวัสดิการกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ คนไร้ที่พึ่ง ฯลฯ ชุมชน ระบบสวัสดิการของชุมชน ท้องถิ่น ท้องที่

การติดตามการกระจายเงินทุนอย่างเป็นธรรมตามประเภทสวัสดิการสังคม 6.การพัฒนาความเข้มแข็งของเครือข่าย การมีส่วนร่วมของทรัพยากรในระดับต่าง ๆ 7.การพัฒนากลไก มาตรการ ที่เกี่ยวข้อง 8.การพัฒนาและเสริมความเข้มแข็งของบุคลากร พนักงานกองทุน คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง 9.การพัฒนาความสัมพันธ์ในการร่วมกันทำงาน

แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการติดตามและประเมินผลกองทุนฯ ติดตามความคืบหน้าของการดำเนินโครงการที่ได้รับเงินกองทุนฯ และประเมินผลโครงการภายหลังสิ้นสุดโครงการ ตรวจสอบว่าองค์กรสวัสดิการสังคมได้ดำเนินการตามเงื่อนไขของคณะอนุกรรมการ/ คณะกรรมการบริหารกองทุน และสัญญารับเงินอุดหนุนตามกำหนดหรือไม่

แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการติดตามและประเมินผลกองทุนฯ ตรวจสอบระบบการดำเนินงานกองทุนฯ ตรวจสอบหลักฐานการเงินของโครงการฯ การให้คำแนะนำทางบัญชีการเงิน โดยกลุ่มงานติดตามและประเมินผลกองทุน สำนักงาน กสค. บูรณาการการทำงานติดตามประเมินผลโครงการร่วมกับคณะอนุกรรมการ สำนักงาน พมจ.

แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการติดตามและประเมินผลกองทุนฯ ติดตามผลโครงการตามข้อตกลงกับกรมบัญชีกลาง เช่น พื้นที่ที่ไม่สามารถส่งหลักฐานการเงินได้ หรือโครงการนั้นเป็นโครงการระยะสั้น ที่ดำเนินงานเสร็จไปแล้ว และสามารถประเมินผลสำเร็จทั้ง output, outcome และ impact

สถานการณ์ปัญหา ขัอแนะนำ ที่เกิดขึ้นจากการติดตามประเมินโครงการ การติดตามผลโครงการจากจังหวัด ไม่มีแผนติดตามที่ชัดเจน เป็นระบบ ขาดการกระตุ้นให้ผู้รับผิดชอบโครงการ ติดตามประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการ โครงการควรมีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์จังหวัด การสื่อสารและชี้แจงถึงระเบียบปฏิบัติของกองทุนต่าง ๆ ให้ชัดเจน

สถานการณ์ปัญหา ขัอแนะนำ ที่เกิดขึ้นจากการติดตามประเมินโครงการ การสนับสนุนโครงการ ควรพิจารณาถึงความต่อเนื่องและผลที่เกิดขึ้นต่อระบบสวัสดิการสังคมของจังหวัดด้วย การจัดองค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารกองทุนจังหวัดให้มีองค์ประกอบที่เหมาะสม ทั้งภาครัฐ ท้องถิ่น องค์กรสาธารณประโยชน์ องค์กรภาคประชาสังคม

สถานการณ์ปัญหา ข้อแนะนำ ที่เกิดขึ้นจากการติดตามประเมินโครงการ ควรสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยภาพรวมของระบบสวัสดิการสังคมในจังหวัด เพื่อพัฒนาโครงการที่เหมาะสม การจัดอบรมเกี่ยวกับการเขียนโครงการ และการจัดทำรายงานหลังสิ้นสุดโครงการ เพื่อ พมจ.จะได้เห็นภาพรวมที่เกิดขึ้นของผลสัมฤทธิ์ด้านสวัสดิการสังคม

ขอบพระคุณมากค่ะ