พลวัตการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
Advertisements

แผนงาน ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าภาค การเกษตร ผลผลิตที่ 3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาการ ดำเนินธุรกิจ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และ.
ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
ไทยกับการส่งเสริม CLC’s ในประเทศเพื่อนบ้าน
การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชาคมอาเซียน.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ สถาบันคลังสมองของชาติ
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
เสวนาหัวข้อ “Research Gap on Thailand Green Economy”
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์โลก การผลิต - พื้นที่ปลูก - ปริมาณผลผลิต - ชนิดพันธุ์
ภาพรวมการพัฒนาสู่สังคมคาร์บอนต่ำ ระดับโลก ระดับประเทศ ระดับท้องถิ่น ระดับโรงเรียน และตัวอย่างปฏิบัติการมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองทุ่งสง.
(โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
แผนงานบูรณาการพัฒนาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
หน่วยงานเจ้าภาพหลัก : กษ. (สศก. ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง:
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การจัดการความรู้ Knowledge Management
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
นโยบายการขับเคลื่อน อาหารปลอดภัยของประเทศ
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ข้อมูลนำเสนอโครงการ ประจำปีงบประมาณ 2562
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พลวัตการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 ในวันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 14.15-16.15 น ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ รศ.สมพร อิศวิลานนท์ สถาบันคลังสมองของชาติ E-mail address: somporn@knit.or.th สถาบันคลังสมองของชาติ

นโยบายการค้าเสรีปัจจัยเร่งสู่ความเป็นพลวัตของภาคการเกษตรไทย เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ นโยบายการค้าเสรีปัจจัยเร่งสู่ความเป็นพลวัตของภาคการเกษตรไทย 2

รูปแบบการบริโภคที่กำลังเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดทางเลือกในระบบการผลิต เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ แรงกดดันจากด้านอุปสงค์สู่ความต้องการอาหารปลอดภัยและการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รูปแบบการบริโภคที่กำลังเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดทางเลือกในระบบการผลิต ความต้องการอาหารปลอดภัย อาหารอินทรีย์ ความต้องการอาหารที่มีคุณค่าโภชนาการ อาหารที่เป็นยา ความกังวลเรื่องผลกระทบด้านสังคม: โลกร้อน สวัสดิการสัตว์ การใช้น้ำมากเกินไป การกีดกันการค้า เกิดทางเลือกในระบบการผลิตในหลายรูปแบบมากขึ้น เช่น เกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดภัย การเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ การขับเคลื่อนภาคการเกษตรไทยในยุคของการแข่งขันทางการค้าจำเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม  เกิดกรอบแนวคิดในการใช้พื้นที่และทรัพยากรเท่าเดิมแต่ทำอย่างไรจะสร้างสินค้าที่มีทั้งคุณค่าและมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น เทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็นตัวแปรสำคัญในการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันและรวมถึงการสร้างคุณค่าและมูลค่าให้กับสินค้าเกษตร  มีการนำเอาทุนทางสังคมและทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาสร้างการขับเคลื่อนและเป็นจุดขายทางการตลาด ความรู้ เทคโนโลยี/นวัตกรรม การยกระดับคุณค่าและมูลค่า สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน

เศรษฐกิจสร้างสรรค์: ใช้ความคิดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ เศรษฐกิจสร้างสรรค์: ใช้ความคิดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม กรณีตัวอย่าง

Let Your Rice be Your Medicine เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ หากคิดว่าข้าวเป็นได้มากกว่าอาหารจานหลัก คุณภาพดี สุขภาพและโภชนาการที่ดี การมีชีวิตที่แข็งแรงและยืนนาน Let Your Rice be Your Medicine Iron and high Fe bioavailability Low – medium glycemic index High Antioxidants Selenium/ Folate/ Phytonutrients (สารฟฤกษเคมี) ที่มา: รัชนี คงคาฉุยฉาย 2556

ข้าวหอมมะลินิลมีโภชนาการ เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ ข้าวเมื่อบวกความคิดเชิงนวัตกรรมจะสร้างมูลค่าต่อหน่วยให้สูงขึ้น การพัฒนาความหลากหลายสู่การเป็น healthy food &cosmetic ราคาข้าวเปลือก 25 บาทต่อกก. ราคาข้าวสาร 50 บาทต่อกก.. นาอินทรีย์ ข้าวหอมมะลิ เครื่องสำอางค์/spa 6,500 บาทต่อกก. ข้าวขาว 20 บาท/กก. ข้าวมีกลิ่นหอม 35บาท/กก. ข้าวหอมมะลินิลมีโภชนาการ >80 บาท/กก. Riceberry oil ที่มา: ดัดแปลงจาก Apichart Vannvichit

การยกระดับห่วงโซ่อุปทานขึ้นเป็นห่วงโซ่คุณค่า เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ การยกระดับห่วงโซ่อุปทานขึ้นเป็นห่วงโซ่คุณค่า ใช้นวัตกรรมและความคิดเพิ่มมูลค่าในห่วงโซ่อุปทาน ระบบการแปรรูป (Processing System) Marketing System) ระบบการบริโภค (Consumption System) ระบบการผลิต (Production System) ระบบการตลาด (

การเปลี่ยนมิติคิดทำให้การเกษตรเชื่อมสู่การท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศ เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ การเปลี่ยนมิติคิดทำให้การเกษตรเชื่อมสู่การท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศ สร้างกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่ใช้การเกษตรหรือพื้นที่เกษตรเป็นส่วนประกอบ เพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มจากกิจกรรมการทำฟาร์ม ขายสินค้าที่เป็นสิ่งแวดล้อมได้แก่ green environment อากาศบริสุทธิ์ และวิถีชีวิตชนบท ขายผลผลิตการเกษตรในแหล่งที่ตั้งแทนที่การนำไปขายสู่ตลาดในเมือง

การเพิ่มมิติด้านพลังงานสะอาดโดยมีการเกษตรเป็นฐานการผลิต เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ การเพิ่มมิติด้านพลังงานสะอาดโดยมีการเกษตรเป็นฐานการผลิต

To be specialize in commodity เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ มิติการขับเคลื่อนภาคการเกษตรสู่การเป็น Bio-Base Economy Industrial biotechnology; Biorefineries; Biobase chemistry; Biobase plastic and composites. To be specialized in bio-base commodity Agriculture base การเกษตรอาเซียน To be specialize in commodity Time dimension

มิติการต่อเติมให้ไทยเป็นหนึ่งในครัวของโลก เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ มิติการต่อเติมให้ไทยเป็นหนึ่งในครัวของโลก มุ่งตอบสนองความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ พัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร พัฒนาคุณภาพของสินค้าให้ได้มาตรฐานสากล Good Agricultural Practice (GAP) Good Manufacturing Practice (GMP) การผลิตที่ตอบสนองต่อความปลอดภัยด้านอาหาร สุขอนามัยตามข้อตกลงของ WTO Certifications, Inspection, Testing, Health-related labeling การเร่งสร้างและยกระดับนวัตกรรมสำหรับอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและสินค้าเกษตรแปรรูปเพื่อให้แข่งขันได้ในตลาดการค้าของโลก

มิติของความมั่นคงและยั่งยืนในอาชีพของเกษตรกรรายย่อย เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ มิติของความมั่นคงและยั่งยืนในอาชีพของเกษตรกรรายย่อย ได้รับคุณค่าจากการบริโภคอาหารที่ได้คุณภาพ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความปลอดภัย เข้าถึงได้และมีอยู่อย่างพอเพียง ผูกโยงเครือข่ายสร้างเป็นตลาดจำเพาะ(nich market) มีกลไกรับรองคุณค่า มีช่องทางในการกระจายสินค้า ที่เป็นธรรม สร้างความจำเพาะในคุณค่าของสินค้า(niche product) ใช้ปัจจัยการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีกลไกของกิจกรรมและการจัดการที่ดี ตระหนักถึงความสำคัญของระบบนิเวศ สภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ผู้ผลิต การเชื่อมต่อกิจกรรมกลางน้ำ ผู้บริโภค เส้นทางสู่เกษตรกรรมยั่งยืน การรักษาไว้ซึ่งความสมดุลของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและคุณภาพชีวิตที่ดี สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม เกษตรกรรมยั่งยืน คุณภาพชีวิตที่ดีของเกษตรกร การผสมผสานการผลิตพืช และสัตว์ ดิน น้ำ อากาศbiodiversity ประสิทธิภาพ ความเป็นธรรม

มิติของเกษตรกรรายย่อยกับการก้าวพ้นความยากจน เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ มิติของเกษตรกรรายย่อยกับการก้าวพ้นความยากจน ชุมชนมีพันธกิจร่วม (Community engagement)  พันธุ์จำเพาะ  ธุรกิจเพื่อสังคม  วิธีการผลิตจำเพาะ สร้างช่องทางตลาดใหม่ สร้างวิธีการจัดการใหม่  สร้างผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น ผูกโยงการตลาดให้เข้ากับระบบการผลิตอย่างเป็นธรรมและมีประสิทธิภาพ ยกระดับการจัดการในไร่นาของเกษตรกรหรือการผลิตสินค้าของชุมชน ภาควิชาการและภาครัฐมีพันธกิจร่วม(University and Public Sector engagement) ภาคธุรกิจมีพันธกิจร่วม (Business engagement) ทีมา: ดัดแปลงจาก อภิชาติ วรรณวิจิตร 2557

ขอบคุณ Q&A สถาบันคลังสมองของชาติ