GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
Advertisements

ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ขั้นที่ 1 ออกแบบ โครงสร้างการ ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 2 ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ รายบุคคล (Performance Management.
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล และเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล.
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
Health Promotion & Environmental Health
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย แผนปฏิบัติการ
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
(แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม)
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี 2562
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
เขตสุขภาพ ที่11.
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
ดีมาก Plus ดีมาก ดี พื้นฐาน
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
Note เรียน คณะกรรมการทีมระบบ
PMQA ปี 53 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP ส่วนราชการ SP 5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/กอง)
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
Function Based ตัวชี้วัดที่ 17
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
กลุ่มที่ ๗ ศูนย์อนามัยที่ ๑ ๒ ๓.
การทบทวนผลการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ 2559
การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
แผนการดำเนิน งานตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน สสจ.สระแก้ว ปี 2560.
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
สรุปผลการตรวจราชการฯ
อุทธรณ์,ฎีกา.
มาตรการ/กลยุทธ/ขับเคลื่อน กรอบภารกิจงานอนามัยเจริญพันธุ์ กรมอนามัย ประชากร ข้อเสนอเชิงนโยบาย อนามัย เจริญพันธุ์ -จำนวน -คุณภาพ -สุขภาพมารดา -สุขภาพด้านเพศ.
Fully Participation ส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยเขต
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การบริหารจัดการกำลังคน เครือข่ายบริการที่ 5
ผลการพัฒนาถุงรองรับน้ำย่อย จากกระเพาะอาหาร
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) _________________________ ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) ตามคำรับรองฯของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2562 วันศุกร์ที่ 25 มกราคม 2562 ณ ห้องประชุมกําธร สุวรรณกิจ อาคาร 1 ชั้น 1 กรมอนามัย

เกณฑ์การประเมิน/ กิจกรรมดำเนินการ ศูนย์อนามัย , สสม. 5 เดือนแรก (ต.ค. 61-ก.พ. 62) ระดับ เกณฑ์การประเมิน/ กิจกรรมดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 1   Assessment : มีระบบบริหารจัดการข้อมูลและการวิเคราะห์ ปัญหา 1.00 1.1 มีข้อมูลและสารสนเทศที่สมบูรณ์และเพียงพอในการวิเคราะห์ปัญหาและนำไปสู่ 1) HL ปชช./Competency จนท. 2) ข้อเสนอเชิงนโยบาย และ 3) มาตรการในพื้นที่ - มีการวิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหา และช่องว่างของการพัฒนาโรงพยาบาลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ในปัจจุบันกับมาตรฐาน/เป้าหมายที่กำหนด (0.20) - มีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ความต้องการและความคาดหวังของ customer , stakeholder ทั้งในปัจจุบันและพึงมีในอนาคต (0.15) - มีข้อมูล Best Practice (0.15) 0.50 1. มีไฟล์ข้อมูลและสารสนเทศ 1) ข้อมูลและสถานการณ์ ผลการดำเนินงานย้อนหลัง 3 ปี ข้อมูลปัจจัยที่ส่งผลกระทบ 2) ทำเนียบฐาน ข้อมูล customer ,stakeholder ทั้งในปัจจุบันและพึงมีในอนาคต 3) ข้อมูล ความต้องการ และความคาดหวังของ customer และ stakeholder 2. มีบทวิเคราะห์ Gap และผลกระทบความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเพื่อนำไปสู่การคาดการณ์และการแก้ไขปัญหาในเชิงรุก 1.2 มีระบบการจัดเก็บและติดตามข้อมูลปัจจัยที่ส่งผลกระทบ - มีการจัดเก็บข้อมูลสำคัญ อย่างเป็นระบบบนเว็บไซต์กลางของหน่วยงาน และเชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้ากับระบบ DoH Dashboard 0.10 แสดงไฟล์ภาพข้อมูลและสารสนเทศ (ในข้อ 1) บนระบบเว็บไซต์ของหน่วยงาน และเชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้ากับระบบ DoH Dashboard 1.3 มีระบบการประเมินผลมาตรการและวิเคราะห์เพื่อปรับปรุง มาตรการทุก 3 เดือน - มีระบบการประเมินผลมาตรการ - มีการวิเคราะห์เพื่อปรับปรุง มาตรการทุก 3 เดือน 0.30 ผลการวิเคราะห์/ทบทวนมาตรการทุก 3 เดือน - รอบที่ 1 สิ้นเดือนมกราคม 1.4 มีแผน/แนวทางปฏิบัติ (ที่สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ในข้อ 1.1) เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ปรับปรุงผลการดำเนินการ ส่งเสริมนวัตกรรม และบรรลุยุทธศาสตร์ /ภารกิจสำคัญ - มีแผน/แนวทางปฏิบัติ (Action plan) ที่สอดคล้องกับการวิเคราะห์ในข้อ 1.1 - มีแผนพัฒนาบุคลากรภายในและภายนอก (HRD / HRM) - มีกิจกรรมการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานและผู้รับบริการรวมทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แผนการดำเนินงานที่ตอบสนองต่อความคาดหวังและความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และแผนพัฒนาบุคลากรภายในและภายนอก รวมถึงสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานและผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

เกณฑ์การประเมิน/ กิจกรรมดำเนินการ ศูนย์อนามัย , สสม. 5 เดือนแรก (ต.ค. 61-ก.พ. 62) ระดับ เกณฑ์การประเมิน/ กิจกรรมดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 2   Advocacy & Intervention : มี ข้อเสนอเชิงนโยบายและมาตรการที่มีประสิทธิภาพรองรับการแก้ปัญหา (ประเมินและให้คะแนนโดยคณะ กก.ประเมินผลของกรม) 1.0 2.1 มีข้อเสนอเชิงนโยบายและมาตรการ - มีข้อเสนอเชิงนโยบายระดับประเทศ หรือระดับเขตสุขภาพ (0.1) - มีข้อเสนอเชิงนโยบายระดับจังหวัด หรือพื้นที่ (0.1) 0.20 มีเอกสารข้อเสนอเชิงนโยบายและมาตรการดำเนินการ 2.2 มาตรการดำเนินการที่รองรับการแก้ปัญหาและตอบสนองตรงตามความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - มีมาตรการที่มีประสิทธิภาพ รองรับการแก้ปัญหาและตอบสนองตรงตามความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 0.50 เอกสารแสดงมาตรการที่รองรับการแก้ปัญหาและตอบสนองตรงตามความต้องการของผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.3 มาตรการมีความสอดคล้องกับบทบาทใหม่ (Re-role : Smart Governance by national lead /regional lead) - มีการกำหนดมาตรการที่สอดคล้องกับบทบาทใหม่ 0.15 เอกสารแสดงความสอดคล้องของมาตรการที่กำหนดกับบทบาทใหม่ของหน่วยงาน 2.4 มี Key Message และเนื้อหาสร้าง HL ปชช. / Competency จนท.(ส่งมอบศูนย์สื่อผลิตสื่อ) - มีการจัดทำ Key Message และเนื้อหาเพื่อสร้าง HL ปชช. /เพิ่ม Competency ประชาชนและเจ้าหน้าที่ และส่งให้ศูนย์สื่อสารสาธารณะ - เอกสาร Key Message และเนื้อหาเพื่อสร้าง HL และหลักฐานที่แสดงถึงการส่ง Key Message และเนื้อหาดังกล่าว ให้ศูนย์สื่อสารสาธารณะ - เอกสารที่แสดงถึงการเพิ่ม Competency ประชาชนและเจ้าหน้าที่

เกณฑ์การประเมิน/ กิจกรรมดำเนินการ ศูนย์อนามัย , สสม. 5 เดือนแรก (ต.ค. 61-ก.พ. 62) ระดับ เกณฑ์การประเมิน/ กิจกรรมดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 3   Implementation : การขับเคลื่อนมาตรการ 1.0 3.1 มีการนำข้อเสนอเชิงนโยบายเข้าสู่เวทีกรรมการระดับเขต /ระดับจังหวัด - มีการนำข้อเสนอเชิงนโยบายเข้าสู่กรรมการระดับเขต (เช่น การประชุมเขตสุขภาพ) /ระดับจังหวัด 0.20 มีหลักฐาน (เช่น หนังสือราชการ สรุปรายงานการประชุม ฯลฯ) /ภาพกิจกรรม ที่แสดงถึงการนำเสนอเข้าสู่เวทีประชุมระดับต่าง ๆ 3.2 มีการดำเนินการขับเคลื่อนมาตรการลงสู่พื้นที่ภายใต้บทบาทใหม่ (Smart regulator / Facilitator + Enabler + Governance) - มีการดำเนินการขับเคลื่อนมาตรการลงสู่พื้นที่ภายใต้บทบาท Smart regulator (0.20) - มีการดำเนินการขับเคลื่อนมาตรการลงสู่พื้นที่ภายใต้บทบาท Facilitator + Enabler (0.10) - มีการดำเนินการขับเคลื่อนมาตรการลงสู่พื้นที่ภายใต้บทบาท Governance (0.10) 0.50 เอกสารที่แสดงกระบวนการ วิธีการ กลไก ในการขับเคลื่อนตั้งแต่ต้นจนจบ (end to end process) 1. Flow chart ที่แสดงให้เห็นถึงบทบาทใหม่ในการดำเนินงาน 2. รายงานการขับเคลื่อน และภาพกิจกรรม 3.3 มีการขับเคลื่อน HL ไปสู่ปชช./competency ไปสู่เจ้าหน้าที่ - มีการจัดกิจกรรมการขับเคลื่อน HL (เช่น การสร้างความรอบรู้ การจัดสภาพแวดล้อม การสื่อสารสุขภาพ ฯลฯ) ไปสู่ประชาชน 0.15 เอกสาร One page สรุปสาระสำคัญที่แสดงถึงกิจกรรมการขับเคลื่อน HL ไปสู่ประชาชน/competency ไปสู่ จนท. และภาพกิจกรรม 3.4 มีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาขับเคลื่อนให้เกิดคุณภาพ (Digital Transformation) - มีการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลที่นำไปสู่การพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายและมาตรการของหน่วยงาน เอกสารที่แสดงให้เห็นถึงการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ เช่น แอพพลิเคชั่น โซเชียลมีเดีย ฯลฯ

เอกสารประกอบการพิจารณา เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัย , สสม. 5 เดือนแรก (ต.ค. 61-ก.พ. 62) ระดับ 4 : โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐานขึ้นไป (1) ศูนย์อนามัย 1 2 3 4 5 เอกสารประกอบการพิจารณา ศูนย์อนามัย 1 96 97 98 99 100 ข้อมูลระบบรายงาน ต.ค.61 – ก.พ.62 ศูนย์อนามัย 2 ศูนย์อนามัย 3 ศูนย์อนามัย 4 ศูนย์อนามัย 5 ศูนย์อนามัย 6 ศูนย์อนามัย 7 ศูนย์อนามัย 8 ศูนย์อนามัย 9 ศูนย์อนามัย 10 ศูนย์อนามัย 11 ศูนย์อนามัย 12 สสม.

เอกสารประกอบการพิจารณา เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัย , สสม. 5 เดือนแรก (ต.ค. 61-ก.พ. 62) ระดับ 5 : โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีขึ้นไป (1) ระดับ 5 ศูนย์อนามัย 1 2 3 4 5 เอกสารประกอบการพิจารณา ศูนย์อนามัย 1 76 77 78 79 80 ข้อมูลระบบรายงาน ต.ค.61 – ก.พ.62 ศูนย์อนามัย 2 96 97 98 99 100 ศูนย์อนามัย 3 ศูนย์อนามัย 4 ศูนย์อนามัย 5 83 84 85 86 87 ศูนย์อนามัย 6 ศูนย์อนามัย 7 ศูนย์อนามัย 8 ศูนย์อนามัย 9 88 89 ศูนย์อนามัย 10 ศูนย์อนามัย 11 90 91 92 93 ศูนย์อนามัย 12 สสม. 80.5 83.5 86.5 89.5 92.5

Thank You for Kind Attention