อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการตลาด บทที่ 13 การส่งเสริมการตลาด.
Advertisements

การตลาดแบบเดิม(Inside out)
กลยุทธ์ในยุคดิจิตอล : แนวคิดใหม่ของการสร้างความสามารถ ทางการแข่งขัน ดร. ธีรยุส วัฒนาศุภโชค รองประธานหลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
แนะนำกระบวนวิชาของภาควิชาการตลาด
Regional Value Chain: กลยุทธ์ โอกาส ประสบการณ์ และข้อควรระวัง
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
My Profile. Samart Kittiruangwittaya สามารถ กิตติเรืองวิทยา ( มาร์ค )
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
การขับเคลื่อน ด้านการตลาดเกษตรอินทรีย์ไทย
Operations in the Tourism Industry
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
เอกสารประกอบการสอน วิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมบริการ (TAH1201) Tourism Industry and Hospitality Management Program.
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
การประมาณโหลดอาคารชุด ตาม วสท. 2545
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวอิเล็กทรอนิกส์ (eTourism) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรวัต แสงสุริยงค์ URL:
Principle of Marketing
ลักษณะและขอบเขตของการตลาด
ทรัพยากรการท่องเที่ยว (TIM 1301)
สัมมนาการตลาด (Seminar in Marketing)
ประเภทของธุรกิจขายตรง (ครั้งที่ 2) อาจารย์วิไลลักษณ์ มีประชา
บทนำ 1 ความหมายของการตลาด แนวความคิดหลักทางการตลาด
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การส่งเสริมการตลาด 9 กระบวนการติดต่อสื่อสาร
บทที่ 9 กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
Department of Marketing Bangkok University
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
TIM2303 การขายและตลาดอุตสาหกรรมท่องเที่ยว SALE & MARKETING IN Tourism Industry อ.เอกชัย สีทำมา.
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
แผนการตลาด Marketing Plan.
promotion Meaning communication process between producers and tourists
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด Marketing Environmental Analysis
1.โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนอีสานศตวรรษที่ 21 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 อุปสงค์และอุปทานการท่องเที่ยว
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
การผลักดันเชิงนโยบายในการสนับสนุน และส่งเสริมการบริหารจัดการถุงยางอนามัย ระดับประเทศ โดย แพทย์หญิงมณฑินี วสันติอุปโภคากร นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ สำนักโรคเอดส์
เอกสารประกอบการสอน บทที่ 3 ความสำคัญและ ผลกระทบจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management Program.
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพื่อผลทางการสื่อสาร และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์
รายงานผลการวิจัย : ThaiView 26 กันยายน 2549.
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 พ. ศ
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
THM 2303 การตลาดเพื่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว
การกำหนด STP Segmentation Target Positioning
สถาบันส่งเสริมสินค้าเกษตรนวัตกรรม
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
หลักการตลาดสมัยใหม่ (Principles of New Modern Marketing) )
สัมมนาการตลาด (Seminar in Marketing)
รายวิชา IFM4301 การจัดการเครือข่ายทางสังคม 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
เอกสารประกอบการสอน บทที่5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโรงแรม
การโฆษณา การประชาสัมพันธ์
Origin Group Present.
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
เอกสารประกอบการสอน บทที่ 7 แนวโน้มและ สถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทยอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management.
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
SERVICE MARKETING การตลาดบริการ • ความหมายของการบริการ • ความสำคัญของการบริการ • ความแตกต่างระหว่างสินค้าและการบริการ • ประเภทธุรกิจบริการ.
หลักการทางด้านการตลาด
TIM2303 การขายและการตลาดในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
บทที่ 4 กลยุทธ์ในการเลือกตลาด
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
การจัดการตลาดสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
Topic 12 เงิน สถาบันการเงิน นโยบายการเงิน VS การคลังสาธารณะ(Public Finance) รศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การท่องเที่ยว และทรัพยากรการท่องเที่ยว.
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน) TIM2303 การขายและการตลาดในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว Sales and Marketing in Tourism Industry อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)

องค์ประกอบของตลาดการท่องเที่ยว 1.ผู้ซื้อ ได้แก่ นักท่องเที่ยว นักทัศนาจร ทั้งภายในประเทศ และระหว่างประเทศ ความต้องการเดินทางท่องเที่ยวและบริโภคสินค้า การท่องเที่ยวมีความยืดหยุ่นและเปลี่ยนแปลงสูงมากเนื่องจากปัจจัยทาง เศรษฐกิจ สังคม ราคาการท่องเที่ยว ฤดูกาล สมัยนิยม รสนิยม ทัศนคติ ประสบการณ์ท่องเที่ยว และเหตุการณ์สำคัญอื่นๆ สิ่งสำคัญ ของการวางแผนการตลาด คือต้องทราบความต้องการของตลาด (Demand) ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1.1 ความต้องการปัจจุบัน (Actual Demand) 1.2 ความต้องการที่มีแนวโน้ม (Potential Demand) 1.3 ความต้องการที่อาจเกิดขึ้น (Deferred Demand)

ลักษณะของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว 1. เป็นอุตสาหกรรมบริการ 2. เป็นอุตสาหกรรมที่สินค้าไม่อาจจัดส่งให้แก่ผู้ซื้อได้ 3.เป็นอุตสาหกรรมที่ไม่มีขีดจำกัดในการผลิตและจำหน่าย 4. เป็นอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอื่น ๆ 5. เป็นอุตสาหกรรมที่สร้างความเจริญและเสริมความมั่นคงปลอดภัย ให้แก่ท้องถิ่น 6. เป็นอุตสาหกรรมที่มุ่งสร้างความจรรโลงใจ มีผลต่อสันติภาพ สัมพันธไมตรี และความเข้าใจอันดีระหว่างมนุษยชาติ

ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว อุตสาหกรรมท่องเที่ยวประกอบด้วยธุรกิจที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการท่องเที่ยว ได้แก่ 1. ธุรกิจการขนส่ง 2. ธุรกิจอาหารและการพักแรม 3. ธุรกิจการนำเที่ยว

ความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการ 1.จับต้องได้ 2.สามารถแบ่งแยกได้ 3.มีความแน่นอน 4.จัดทำมาตรฐานได้ง่าย 5.เก็บรักษาได้ บริการ 1.ไม่สามารถจับต้องได้ 2.ไม่สามารถแบ่งแยกได้ 3.มีความไม่แน่นอน 4.จัดทำมาตรฐานได้ยาก 5.ไม่สามารถเก็บรักษาได้

ลักษณะพิเศษของตลาด • เป็นบริการที่ไม่มีตัวตนจับต้องไม่ได้ เช่น ความพอใจ ความสุขใจ ความตื่นเต้น • การตัดสินใจซื้อใช้อารมณ์มากกว่าสินค้าประเภทอื่น • ไม่สามารถจัดส่งบริการท่องเที่ยวให้กับลูกค้า นักท่องเที่ยวต้อง เดินทางมาซื้อบริการด้วยตนเอง • ไม่สามารถควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของการบริการได้ • อุปสงค์ของการตลาดขึ้นลงตามฤดูกา • บริการของตลาดการท่องเที่ยวไม่สามารถเก็บไว้ใช้ได • องค์ประกอบของสินค้าทางการทอ่งเที่ยวมีความเป้นอิสระต่อกัน • การลอกเลียนแบบทำได้ง่าย

อุปสงค์และอุปทานการท่องเที่ยว 1.ความหมายของอุปสงค์การท่องเที่ยว 2.ปัจจัยที่ทำให้เกิดอุปสงค์การท่องเที่ยว 3. ความหมายของอุปทานการท่องเที่ยว

อุปสงค์การท่องเที่ยว หมายถึง ความต้องการของนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางไปซื้อสินค้าและบริการ หรือ บริโภคผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวในสถานที่ท่องเที่ยว หรือจุดหมายปลายทางการ ท่องเที่ยวของตน โดยนักท่องเที่ยวจะต้องมีความต้องการ มีอำนาจซื้อ และมีความ เต็มใจที่จะจ่ายค่าสินค้าและบริการที่กำหนดในเวลานั้น ปริมาณสินค้าและบริการ ทางการท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงย่อมหมายถึงการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของอุป สงค์การท่องเที่ยว การศึกษาอุปสงค์การท่องเที่ยว นิยมศึกษาข้อมูลจำนวน นักท่องเที่ยว รายได้จากการท่องเที่ยว วันพักเฉลี่ย และการเพิ่มขึ้นของอุปทาน การท่องเที่ยว

อุปทานการท่องเที่ยว กฎแห่งอุปทานของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ปริมาณบริการของ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่จะเสนอขาย ย่อมผันแปรเป็นปฏิภาคเดียวกัน กับอัตราค่าบริการ หมายความว่า ถ้าอัตราค่าบริการของอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวลงลง ปริมาณบริการที่ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวจะนำออก ขายก็ลดลงด้วย แต่ถ้าอัตราค่าบริการของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เพิ่มขึ้น ปริมาณบริการที่ผู้ประกอบธุรกิจจะนำออกขายก็เพิ่มขึ้นด้วย

สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด ตัวอย่างสินค้าท่องเที่ยวตามความต้องการตลาด สินค้าท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจ ตลาด - เป็นสินค้าที่มีความแตกต่างและสร้างสรรค์ - เป็น CreativeTourism Product - เป็นสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐานทั้งด้านตัวสินค้าและการบริการ รวมถึง มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมอยู่ในกระแสความต้องการของนักท่องเที่ยวไทย และ หรือต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย เช่น การท่องเที่ยวเพื่อ การเรียนรู้ การท่องเที่ยวสัมผัสวิถีชีวิตชนบทการท่องเที่ยวสีเขียว