รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย หจก. มายคอม แอนด็ เอ็นจิเนียริ่ง
Advertisements

วิธีลบ เรียน ผู้ใช้งาน webmail ได้แก่ และ บัญชีอื่นๆ ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น งานเทคโนโลยีสารสนเทศได้ตรวจสอบ.
sp3 Hybridization of CH3CH3 (Ethane)
คลินิกตา หอผู้ป่วยนอก
งานนำเสนอประวัติส่วนตัว
PE Bag – large size (ถุงพลาสติกใหญ่ PE)
ทบทวน Array.
NUT story Nattiya Prakobsaeng D
การสร้างฟอร์ม (Form) ผศ.ดร.ปริศนา มัชฌิมา.
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโทรศัพท์
ช่างเทคนิคโตโยต้า>>นัตและโบลท์
การใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล Mysql ผ่าน phpmyadmin
โครงการเขื่อนคลองท่าด่าน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
Software Testing  - ช่วยกำจัด และลดข้อบกพร่องที่จะก่อให้เกิดปัญหาลงให้มากที่สุดที่จำทำได้ (ตามเวลาที่มี) - ช่วยลดความเสี่ยง เพิ่มความมั่นใจ และน่าเชื่อถือ.
โครงงานคอมพิวเตอร์ แบบจำลองที่ให้อาหารสุนัข
ระบบอ่างบ้วนปาก และน้ำลงถ้วย
ABOUT ME ตัวฉัน ของ ชอบ เพื่อน เวลา ที่นอนนอนติดต่อคติความ ความ ฝัน.
Junction Box และ การติดเชื้อในระบบน้ำ
Chapter 7 เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless lans)
SolidWorks: Assembly Assembly.
การติดตั้งและทดสอบระบบ พร้อมตรวจรับ
ยูนิตทำฟัน ( Dental Unit )
การสร้างข้อความลงแผ่นสไลด์
C1 : 2 sides-skin A1 : Hi-Light Box B1 : Big Box (Top) B2 : Big Box (Middle) C1 : 2 sides-skin.
หัวต่อสัญญาณแบบต่าง ๆ
Design Wireless Network 2 Location Survey & installing Chapter 7.
1 การใช้งานระบบจัดการ ฐานข้อมูล Mysql ผ่าน phpmyadmin.
Lab 05 : Microsoft PowerPoint 2013 Part 1 ทพ 491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
จากรูปร่าง โครงสร้าง หรือจำนวนโครโมโซมผิดปกติ
บทที่ 1 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และสัญลักษณ์
งานฝึกอบรมและพัฒนาสื่อสารสนเทศ
ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม Visual Studio 2013 Express
CAD/CAM/CAE/CNC กับอุตสาหกรรมการผลิต
Ultra hi speed Internet (FTTB : Fiber to the Building)
ความปลอดภัยจาก ไฟฟ้า นายนภดล ชัยนราทิพย์พร.
การปฏิบัติภายหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ โดย ดนัย บุณยเกียรติ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พื้นฐานการอินเตอร์เฟส
การเขียนภาพประกอบ(Assembly Draw.)
เซ็นเซอร์ และ ทรานสดิวเซอร์ Sensor and Transducers
วิวัฒนาการโทรศัพท์.
ระบบโทรคมนาคม สำหรับการจัดการซัพพลายเชน
Nangmaewpa.
Ultra hi speed Internet
พื้นฐานการออกแบบระบบไฟฟ้า
ความสำคัญของแสง ต่อการถ่ายภาพ
ส่วนประกอบและการทำงาน ของรถแทรกเตอร์
การใช้งานและบำรุงรักษา
ทีมเยี่ยมเสริมพลัง คปสอ.เขาสมิง วันพุธที่ 3 พ.ค. 60
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
สถิติชีพและสถานะสุขภาพ พื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒
| AGRICULTURAL DEVELOPMENT EXTENSION |
การประยุกต์ใช้ในเชิงการเกษตร
ตัวต้านทานไฟฟ้า (Resistor)
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
การใช้เครื่องมือในงานช่างยนต์
Present Perfect Simple Present Perfect Progressive
การค้นหาข้อมูลด้วยฟอร์ม
การควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยใช้เชื้อราเขียว
การใช้งานและบำรุงรักษา
การประมาณการโครงการ.
Thank you for downloading a BCU Research Poster Template!
การพัฒนาระบบ ECS (Emergency Care System) โรงพยาบาลพยัคฆภูมิพิสัย
Project Status Update TFR Meeting June 26, 2012.
5ใจเลิกบุหรี่ ด้วยวิธี 5 D
การส่งเสริมสุขภาพ การสร้างพลังใจ และวางแผนชีวิต และสิทธิ
Inform Consent Form โครงการ RV พ.ย.58.
คลินิกหมอครอบครัวคุณภาพ
การเขียนแบบและออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์
ECS คุณภาพ โรงพยาบาลยางสีสุราช ปี 2561 (ไตรมาสที่ 1)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์ รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์ อ.โสภณ มหาเจริญ บทที่ 6 เรื่อง การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 

วัตถุประสงค์          6.1  เข้าใจการปอกสาย          6.2  เข้าใจการต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ          6.3  เข้าใจการต่อสายไฟฟ้าด้วยไวร์นัท  (Wire nut)          6.4  เข้าใจการใช้เทปพันสาย วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม          1.  อธิบายการปอกสาย          2.  อธฺบายการต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ          3.  อธิบายการต่อสายไฟฟ้าด้วยไวร์นัท  (Wire nut)          4.  อธิบายการใช้เทปพันสาย

การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ  ในการเดินสายไฟฟ้าและติดตั้งระบบไฟฟ้าโดยทั่วไปแล้วจะมีการตัดสายไฟฟ้าให้สั้นลงถ้าหากว่าสายนั้นยาวเกินความจำเป็นในทางกลับกันจะต้องต่อสายไฟฟ้าเข้าด้วยกัน ถ้าหากว่าสายนั้นสั้นเกินไป หรืออีกกรณีหนึ่งคือเป็นการต่อแยกออกจากสายเมนที่พบเห็นทั่วไปคือการต่อสายเมนที่เสาไฟฟ้าบริเวณหน้าบ้านนั่นเอง

ข้อควรคำนึงในการต่อสายไฟฟ้า   ข้อควรคำนึงในการต่อสายไฟฟ้า           1.  ความแข็งแรงของรอยต่อ  รอยต่อจะต้องมั่นคง  แข็งแรงไม่หลุดออกจากกันอย่างง่าย ๆ ถ้าหากรอยต่อหลวมจะเกิดอาร์กเป็นประกายไฟและอาจทำให้เกิดเพลิงไหม้ได้          2.  ความต่อเนื่องทางไฟฟ้า   จะต้องทำให้ตัวนำสัมผัสกันมากที่สุด   เพื่อให้กระแสไฟฟ้าไหลได้สะดวกที่สุด          3.  จะต้องทำให้รอยต่อเป็นฉนวนไฟฟ้า   โดยทั่วไปจะพันปิดทับไว้ด้วยวัสดุที่เป็นฉนวนไฟฟ้า  ซึ่งก็คือเทปพันสายนั่นเอง  ทั้งนี้ก็เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ที่มาสัมผัสหรือ อาจจะก่อให้เกิดการลัดวงจรในบริเวณรอยต่อก็เป็นได้

การปอกสาย             ก่อนที่จะต่อสายไฟฟ้าเข้าด้วยกัน  จะต้องปอกเอาฉนวนที่หุ้มตัวนำออกให้หมด  โดยใช้คัทเตอร์  มีดปลอกสาย  คีมหรือคีม  สำหรับปอกสายโดยเฉพาะ  ถ้าหากเป็นขดลวดอาบน้ำยา  ควรขดฉนวนออกก่อน  เมื่อต่อเสร็จแล้วจึงทำการบัดกรีด้วยหัวแร้ง  จะทำให้รอยต่อนั้นคงแข็งแรงมากขึ้น

4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2  การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ การต่อสายไฟฟ้ามีด้วยกันหลายแบบ แต่ละแบบจะมีข้อดีแตกต่างกันในที่นี้จะกล่าวเฉพาะวิธีนิยมต่อใช้งานกันทั่วไป  ดังนี้           4.2.1  การต่อแบบหางเปีย  ใช้สำหรับสายขนาดเล็กและปานลาง  นิยมต่อในกล่องต่อสวิตช์  ปลั๊ก เนื่องจากไม่ต้องรับแรงดึงใด ๆ

4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2  การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2.2  การต่อแบบแยกทางเดียว  ให้สำหรับต่อแยกออกจากสายเมนและไม่ต้องการแรงดึง มากนัก

4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2  การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ      4.2.3  การต่อแบบแยกสองทาง   เป็นการต่อแยกออกจากสายเมน จำนวน  2  เส้น  หรือมากกว่าขึ้นอยู่กับความต้องการ

4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2  การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2.4  การต่อแบบ่อตรง   การต่อแบบนี้สามารถรับแรงดึงได้มากขึ้นเนื่องจากปลายสายแต่ละด้านจะพันแนบแน่นไว้ที่ปลายทั้งสองด้าน

4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2  การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2.5  การต่อสายพีวีซีคู่  เป็นการต่อสายพีวีซี  คู่หุ้มฉนวนที่ใช้งานตามบ้านเรือนทั่วไป โดยที่แต่ละเส้นจะต่อเข้าด้วยกันแบบต่อตรง  ดังรูป  ทั้งนี้จะต้องให้รอยต่อเยื้องกันเล็กน้อย  เพื่อป้องกันการลัดวงจร

4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2  การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2.6  การต่อสายอ่อนกับสายแข็ง  เพื่อป้องกันสายหลุดออกจากกัน  จะต้องพันสายอ่อนหลายๆ รอบ  จากนั้นจึงงอสายแข็งทับสายอ่อนไว้ไม่ให้คลายตัวออก

4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2  การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2.7  การต่อสายตีเกลียวแบบต่อตรง  เนื่องจากสายตีเกลียวหรือสายสแตรน  จะมีตัวนำจำนวนหลาย ๆ เส้น  ดังนั้นก่อนที่จะต่อเข้าด้วยกันจะต้องแยกตีเกลียวออกจากกัน  จากนั้นจึงนำสอดประสานกัน  และเริ่มพันทีละเส้นจนครบ  ถ้าหากใช้ตะกั่วบัดกรี  จะทำให้รอยต่อแข็งแรงมากยิ่งขึ้น  การต่อสายวิธีนี้จะสามารถรับแรงดึงได้มาก

4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2  การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ          4.2.8  การต่อสายตีเกลียวแบบต่อแยก  ทำได้โดยการแบ่งสายตัวนำ  (ที่จะนำมาต่อแยก)  ออกเป็นสองส่วนจากนั้นนำไปสอดเข้ากับสายเมน  พร้อมกับพันไปรอบ ๆ สายเมน โดยพันให้มีทิศทางสลับกัน

4.3 การต่อสายไฟฟ้าด้วยไวร์นัท (Wire nut)             การต่อสายด้วยไวร์นัท  จะใช้วิธีหมุนเพื่อให้ไวร์นัทรัดสายให้แนบชิดกัน   เมื่อต่อเสร็จเรียบร้อยแล้วไม่ต้องใช้เทปพันสาย  เนื่องจากปลอกของไวร์นัทเป็นฉนวนอยู่แล้ว  แต่มีข้อควรระวังคือ อย่าปอกสายยาวเกินไป  จะทำให้ตัวนำทองแดงโผล่ออกมาจากใต้โคนของไวร์นัท  ซึ่งจะทำให้จุดต่อสายดังกล่าวลงกราวด์ได้ การต่อสายไฟฟ้าด้วยไวร์นัทจะนิยมต่อในกล่องต่อสาย  (Junction box)  โดยเฉพาะการเดินสายในท่อร้อยสายจะนิยมใช้กันมาก

4.4  การใช้เทปพันสาย              เทปพันสายเป็นวัสดุฉนวนไฟฟ้าที่นิยมใช้  พันปิดทับรอยต่อต่าง ๆ โดยเริ่มจากพันเอียงไปด้านใดด้านหนึ่งจนสุดรอยต่อจากนั้นจึงพันวกกลับมาที่จุดเริ่มต้น  ปฏิบัติเช่นนี้จนกระทั่งแน่ใจว่ามีความปลอดภัยแต่จะต้องไม่หนาจนเกินไป  จนเป็นการสิ้นเปลืองเทปพันสายโดยใช่เหตุข้อควรคำนึงคือ ในขณะที่พันจะต้องดึงเทปพันสายให้ยืดออกเล็กน้อย  เพื่อให้เทปรัดรอยต่อแน่มากยิ่งขึ้น

สรุปประจำบท ข้อสำคัญในเรื่องของการต่อสายไฟก็คือ เมื่อต่อสายไฟแล้ว จุดต่อนั้นจะต้องมีความแน่นหนาไม่มีอาการหลวม เพราะหากการต่อสายไฟหลวมแล้วจะทำให้เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะทำให้มีความร้อนสะสมเกิดความเสียหายได้ การต่อสายไฟโดยเฉพาะสายไฟที่มีขนาดใหญ่จะมีความแข็งเพิ่มขึ้นตามขนาดของสายไฟทำให้การต่อนั้นทำได้ยากมากขึ้นหากไม่ศึกษาวิธีการต่อสายไฟให้ถูกต้องเสียก่อน

แบบฝึกหัด ให้ผู้เรียนต่อสายไฟฟ้าตัวอย่างมาคนละ 2 แบบดังต่อไปนี้ การต่อสายด้วยไวร์นัท การต่อแบบแยกทางเดียว ต่อสายตีเกลียวแบบต่อแยก ต่อแบบแยกสองทาง ต่อสายตีเกลียวแบบต่อตรง ต่อแบบ่อตรง ต่อสายอ่อนกับสายแข็ง ต่อสายพีวีซีคู่