โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แพทย์หญิงปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
Advertisements

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กันยายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา ธันวาคม 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 1 ปี และโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ประเทศไทย : ปี ที่มา: กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน,
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
แนวทางการรายงานเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา รง.506 โรคอุจจาระร่วงและอาหารเป็นพิษ จังหวัดหนองบัวลำภู ปี 2558.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
การจัดระดับความเสี่ยง
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
การขับเคลื่อนการกวาดล้างโรคโปลิโอ ในฉากสุดท้ายของประเทศไทย
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ข้อมูลนำเสนอโครงการ ประจำปีงบประมาณ 2562
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
ประกาศกระทรวงพลังงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 22 ตุลาคม 2561
Scinario 2.
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลหนองบัวลำภู
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus การระบาด โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus (cVDPV) ในประเทศลาว พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ กรมควบคุมโรค

อะไรคือ Vaccine Derived Poliovirus สถานการณ์ในประเทศลาว สถานการณ์ในประเทศไทย มาตรการป้องกันควบคุม polio virus importation

VDPV (vaccine-derived poliovirus) 1. Circulating type (c-VDPV) วัคซีนกลายพันธุ์เพิ่มความรุนแรง เนื่องจากมีการแบ่งตัวอยู่ในกลุ่มคนที่มีระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคต่ำเป็นเวลานาน 2. Immune deficiency type (i-VDPV) วัคซีนกลายพันธุ์เพิ่มความรุนแรง ในคนที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง 3. Ambiguous type (a-VDPV)

c- VDPV OPV เชื้อแบ่งตัวต่อเนื่องเป็นเวลานาน จนเกิด mutation เด็กไม่มีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม Immunized c- VDPV เด็กไม่มีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม Immunized เชื้อแบ่งตัวต่อเนื่องเป็นเวลานาน จนเกิด mutation เด็กไม่มีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม Immunized เชื้อ OPV สามารถอยู่ในลำไส้ได้นาน 6 สัปดาห์ แบ่งตัวและขับออกสู่สิ่งแวดล้อมจำนวนมาก เด็กไม่มีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม Immunized เด็กไม่มีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม Immunized เด็กไม่มีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม Immunized OPV เด็กมีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม boost เด็กมีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม boost เด็กมีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม boost เชื้อหมดไปโดยเร็ว ไม่เกิด mutation เด็กขับเชื้อ OPV ออกมาในสิ่งแวดล้อมอย่างรวดเร็ว เชื้อไม่สามารถเติบโตแบ่งตัวในลำไส้เด็กได้

เด็กที่มีภูมิคุ้มกัน i- VDPV เด็กที่มีภูมิคุ้มกัน บกพร่อง VDPV เด็กไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันต่อ OPV ได้ ทำให้เชื้อแบ่งตัวอยู่ในลำไส้ได้นานเป็นปี จนเกิด mutation OPV

กรณีประเทศลาว ความครอบคลุมวัคซีน OPV ในพื้นที่ต่ำมาก 20-40% ทำให้มี cVDPV การตรวจจับไม่รวดเร็วขาดประสิทธิภาพ ทำให้เกิดการระบาดในวงกว้าง การรณรงค์ให้วัคซีนเพื่อควบคุมโรคในช่วงแรก มีความครอบคลุมไม่สูง

สถานการณ์ในประเทศไทย ไม่มีโปลิโอมาตั้งแต่ปี 2540 ความครอบคลุมวัคซีน OPV ครั้งที่ 3 ในเด็กโดยทั่วไป > 95% การเฝ้าระวังผู้ป่วยอัมพาตเฉียบพลันในเด็ก อยู่ในอัตรา 1-2 ต่อแสนประชากร กลุ่มเสี่ยงสำคัญได้แก่ จังหวัดชายแดนใต้ เด็กต่างด้าว เด็กบริเวณตะเข็บชายแดนไทย-พม่า

ระดับภูมิคุ้มกันต่อโปลิโอในประชากรไทย สำรวจเมื่อ 12 ปีที่ผ่านมา (2547) อายุในปัจจุบัน

สถานการณ์บริเวณจังหวัดชายแดนไทย-ลาว มาตรการที่ดำเนินการแล้ว ความครอบคลุมวัคซีน OPV ครั้งที่ 3 ในเด็กโดยทั่วไป > 95% การเฝ้าระวังผู้ป่วยอัมพาตเฉียบพลันในเด็ก อยู่ในอัตรา 1-2 ต่อแสนปชก มีเด็กกลุ่มเสี่ยงน้อย มาตรการที่ดำเนินการแล้ว (เลย อุดรธานี หนองคาย บึงกาฬ นครพนม ขอนแก่น) ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน และเก็บตกให้ได้ตามเกณฑ์ เร่งรัดการเฝ้าระวัง โดยการค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกใน รพ. ทุกสัปดาห์ ก่อนรายงาน zero report เตรียมมาตรการป้องกันในโรงพยาบาล กรณีมีผู้ป่วย AFP import จากลาว (มีแล้ว 1 ราย)

ดำเนินการในกลุ่มผู้เดินทางเข้าออก ไทย-ลาว มาตรการเพิ่มเติม ดำเนินการในกลุ่มผู้เดินทางเข้าออก ไทย-ลาว ผู้เดินทางที่พำนักอยู่ใน สปป. ลาวตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป ทุกคน ควรได้รับวัคซีนโปลิโอ 1 ครั้ง ก่อนเดินทางเข้ามายังประเทศไทย คนไทยที่จะเดินทางไปพำนักอยู่ใน สปป. ลาวตั้งแต่ 1 เดือน ทุกคนควรได้รับวัคซีนโปลิโอก่อนเดินทาง ดังนี้  เด็กอายุ < 15 ปี ควรได้รับวัคซีนโปลิโออย่างน้อย 3 ครั้ง ประชาชนอายุ > 15 ปี ควรได้รับวัคซีนโปลิโอ 1 ครั้ง

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ด่านท่าลี่ เลย ตรวจสอบการรับวัคซีนผู้เดินทางจากลาว หากไม่เคยรับวัคซีน / ไม่มีเอกสาร แนะนำให้ไปรับวัคซีนในลาว เมื่อเดินทางกลับไป ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ด่านท่าลี่ เลย ด่านบึงกาฬ บึงกาฬ ด่านสะพานมิตรภาพไทย – ลาว มุกดาหาร ด่านสะพาน มิตรภาพไทย – ลาว นครพนม ด่านสะพานมิตรภาพไทย – ลาว หนองคาย ด่านช่องเม็ก จังหวัดอุบลราชธานี ตรวจสอบการรับวัคซีนคนไทยที่จะไปลาวนานกว่า 1 เดือน < 15 ปี ถ้ารับไม่ครบ 3 ครั้ง  หยอดให้ 1ครั้ง > 15 ปี หยอด 1 ครั้งทุกคน

Thank you