โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การตั้งค่าวัคซีน.
Advertisements

การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
 รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด.
หมวดกลุ่มด้อยโอกาส ต่างด้าวและอื่นๆ
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.
การจัดบริการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
Direction of EPI vaccine in AEC era
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
หลักการและเทคนิคการเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถานการณ์ของโรคไข้หวัดใหญ่ในปี ๒๕๕๘
2.4 ประเมินภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้เกณฑ์เสี่ยง มีการให้บริการตามมาตรฐานภาวะเสี่ยง ได้รับคำแนะนำเรื่องที่มาพบแพทย์ มี high risk clinic
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี
แนวทาง การให้บริการวัคซีนโปลิโอ
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 7 การจัดการสุกร.
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
สื่อการเรียนรู้ครูต้อม ประโยคควรรู้ในครอบครัว1 รายวิชาภาษาอังกฤษ ขั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 นางสาวลัดดาวัลย์ เขื่อนคำ ครูผู้สอน โรงเรียนสันมหาพนวิทยา อำเภอแม่แตง.
ขั้นตอนการร้องเรียน.
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ
โดย ภญ. ปิยะนาถ เชื้อนาค สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
ประกาศ มหาวิทยาลัยมหิดล (มีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2556)
สถานการณ์ไข้เลือดออก เขตสุขภาพที่ 1 ปี 2560
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)
โดยคุณอัมพวัน คุลภ์อนันต์
แนวทาง/ทิศทางการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในวัยเด็กและวัยรุ่น
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
แนวทางการประเมินผลงานวิชาการ จังหวัดนครศรีธรรมราช
การเลือกซื้อปัจจัยการผลิตทางการเกษตร และมาตรการควบคุม
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
นวัตกรรมกลุ่มงานวิสัญญี ปี 2562 E Mobile
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
การดำเนินกิจการ ของสหกรณ์ออมทรัพย์.
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดชนิดและอัตรา หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคำนวณปริมาณสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
บ้านเรียนดี สรรสร้างสื่อดี
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย สตรีและเด็กปฐมวัย 0-5 ปี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเสริมหน้าอกด้วยซิลิโคน และ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic) โดย ภญ.กัลยา สกุลไทย สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น

แนวคิดการนำร่องให้วัคซีนแก่ผู้ใหญ่ สภาพปัญหา: วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก วัคซีนคอตีบกระตุ้นทุก 10 ปี อยู่ในสิทธิประโยชน์ที่ประชาชน ควรได้รับ ยังไม่มีการจัดบริการ ทำให้ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงวัคซีนได้ ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยคอตีบในวัยผู้ใหญ่อย่างต่อเนื่อง การกระตุ้นภูมิด้วยการรณรงค์ในระยะสั้นก่อให้เกิดภาระงาน แก่เจ้าหน้าที่ อาจต้องรณรงค์ซ้ำ เมื่อระดับภูมิคุ้มกันลดระดับลง มีการให้วัคซีน dT ใน ER โดยเปิดขวดใช้นานกว่าที่มาตรฐานกำหนด

แนวคิดการนำร่องให้วัคซีนแก่ผู้ใหญ่ สภาพปัญหา :วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนอยู่ในระดับต่ำ โดยเฉพาะในหญิงตั้งครรภ์ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญลำดับต้น มีรูปแบบการให้บริการที่หลากหลาย ขาดระบบการติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีน มีการนำวัคซีนไปฉีดแก่ประชากรที่อยู่นอกกลุ่มเป้าหมาย

วัคซีนในผู้ใหญ่กับสิทธิประโยชน์ dT Influenza บัญชียาหลัก (2558) dT ในกลุ่มผู้ใหญ่ (บัญชี ก) Influenza vaccine ชนิดวัคซีนรวม 3 สายพันธุ์ (บัญชี ก) ประกาศขอบเขตบริการสุขภาพ สปสช (2559) ผู้ใหญ่อายุ 25 ปี ขึ้นไป ต้องได้รับบริการวัคซีน dT กระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี หญิงตั้งครรภ์ ต้องได้รับบริการวัคซีน dT และได้รับ Influenza vaccine ช่วงอายุครรภ์มากกว่า 4 เดือนขึ้นไป ในกรณีที่มีโรคเรื้อรังควรได้รับวัคซีน Influenza 1 ครั้ง ทุกปี

แนวทางการให้วัคซีน ในคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่นคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ รูปแบบและการให้บริการ

วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์หลัก : วัตถุประสงค์รอง : พัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการให้บริการวัคซีนในผู้ใหญ่ วัตถุประสงค์รอง : กระตุ้นภูมิคุ้มกันในกลุ่มผู้ใหญ่ คอตีบ-บาดทะยักในผู้ใหญ่ ไข้หวัดใหญ่ในหญิงตั้งครรภ์ หัดในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข

ขอบเขต เนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย กำหนดการให้วัคซีน รูปแบบการให้บริการ การเตรียมการ การให้บริการ

หญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ตั้งแต่ นักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมาย dT Flu MR บุคคลที่มีอายุ 0 ปีเต็ม ได้แก่ อายุ 20, 30, 40, 50, 60 ปี ไปจนตลอดชีวิต หญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไป นักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข

กำหนดการให้วัคซีน dT ในคลินิกวัคซีนสำหรับผู้ใหญ่ เคยได้รับมาแล้ว ครบ 3 ครั้ง ไม่ครบ 3 ครั้ง ไม่มีประวัติ/ ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ เข็มสุดท้าย เกิน 10 ปี 5-10 ปี <5 ปี 2 ครั้ง 1 ครั้ง ให้ dT 1 ครั้ง จากนั้นนัดกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี อายุ 20 ปี อายุ 0 ปีเต็ม ให้ dT 1 ครั้ง กระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี แล้วแต่ความสมัครใจ ไม่ต้องให้วัคซีน ประวัติการได้รับวัคซีน dT ให้ dT 1 ครั้ง (ห่างจากเข็มสุดท้าย 6 เดือน) จากนั้นนัดกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี ให้ dT 2 ครั้ง (เข็มแรกห่างจากเข็มสุดท้าย 1 เดือน และ เข็ม 2 ห่างจากเข็มแรก 6 เดือน) ให้ dT 3 ครั้ง (เข็มแรกให้ทันที เข็มสองห่างจากเข็มแรก 1 เดือน และ เข็มสามห่างจากเข็มสอง 6 เดือน) หมายเหตุ : หากภายหลังได้รับวัคซีน dT แล้วมีอาการบวมแดงมากตั้งแต่บริเวณหัวไหล่ถึงข้อศอก (Arthus reaction) ให้ยุติการฉีดวัคซีน ในเข็มถัดไป เนื่องจากมีภูมิคุ้มกันต่อบาดทะยักมากเพียงพอแล้ว และหลังจากนั้นให้นัดฉีดวัคซีนกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี

กำหนดการให้วัคซีน dT ในคลินิกวัคซีน หญิงตั้งครรภ์ เคยได้รับมาแล้ว ครบ 3 ครั้ง ไม่ครบ 3 ครั้ง ไม่มีประวัติ/ ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ เข็มสุดท้าย เกิน 10 ปี <10 ปี อายุ 20 ปี 2 ครั้ง 1 ครั้ง ให้ dT 1 ครั้ง จากนั้นนัดกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี DTP ครบ 5 เข็ม และ dT เมื่อ ป.6 นานกว่า 10 ปี ไม่ต้องให้วัคซีน ประวัติการได้รับวัคซีน dT ให้ dT 1 ครั้ง (ห่างจากเข็มสุดท้าย 6 เดือน) จากนั้นนัดกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี ให้ dT 2 ครั้ง (เข็มแรกห่างจากเข็มสุดท้าย 1 เดือน และ เข็ม 2 ห่างจากเข็มแรก 6 เดือน) ให้ dT 3 ครั้ง (เข็มแรกให้ทันที เข็มสองห่างจากเข็มแรก 1 เดือน และ เข็มสามห่างจากเข็มสอง 6 เดือน) หมายเหตุ : หากภายหลังได้รับวัคซีน dT แล้วมีอาการบวมแดงมากตั้งแต่บริเวณหัวไหล่ถึงข้อศอก (Arthus reaction) ให้ยุติการฉีดวัคซีนใน เข็มถัดไป เนื่องจากมีภูมิคุ้มกันต่อบาดทะยักมากเพียงพอแล้ว และหลังจากนั้นให้นัดฉีดวัคซีนกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี

กำหนดการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในหญิงตั้งครรภ์ กำหนดการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในหญิงตั้งครรภ์ กำหนดการให้วัคซีน หัด-หัดเยอรมัน ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข ให้วัคซีน 1 ครั้ง แก่หญิงตั้งครรภ์ทุกคน เมื่อมีอายุครรภ์ตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไป (สามารถให้ได้ตลอดปี โดยอาจเป็นวัคซีน southern strain หรือ northern strain) ให้วัคซีน 1 ครั้ง เมื่อเข้าเรียนชั้นปีที่ 1 หรือ ก่อนเริ่มปฏิบัติงานโดยเร็วที่สุด

dT Flu MR รูปแบบการให้บริการ คลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ บูรณาการ (AVC) บูรณาการ ไปกับงาน ANC คลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ (สถาบันการศึกษา)

รูปแบบคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ Adult Vaccination Clinic = Well Baby Clinic

รูปแบบคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ ช่วงเวลา การให้บริการ ระบบบริหารจัดการ คลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ การประชาสัมพันธ์ การให้วัคซีน ระบบข้อมูล ระบบลูกโซ่ความเย็น สถานที่และอุปกรณ์ที่จำเป็น บุคลากร

รูปแบบคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ การกำหนดช่วงเวลาการให้บริการ ประมาณครึ่งวัน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ประมาณครึ่งวัน เดือนละ 1 ครั้ง ภายใต้การดูแลของแพทย์ (เวชกรรมสังคม) ภายใต้ข้อแนะนำของ สสอ.หรือ แพทย์ที่ระดับ CUP

สถานที่และอุปกรณ์ขั้นพื้นฐานของคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ สถานที่ให้บริการ โรงพยาบาล ควรมีจุดให้บริการเฉพาะ มีพื้นที่เพียงพอสำหรับผู้มารอรับบริการ จุดลงทะเบียน/คัดกรอง จุดรอฉีดวัคซีนและให้ความรู้ ห้องฉีดวัคซีน จุดเฝ้าสังเกตอาการภายหลังได้รับวัคซีน จุดนัดหมายและจ่ายยา ควรมีผังลำดับจุดให้บริการ รพสต. จุดให้บริการเดียวกับการให้วัคซีนเด็ก แต่จัดให้อยู่คนละช่วงเวลา วัสดุอุปกรณ์ มีอุปกรณ์ที่จำเป็นในการฉีดวัคซีน เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยา พลาสเตอร์ กระติกวัคซีน สำลี แอลกอฮอล์ ยาแก้ปวดลดไข้ มีอุปกรณ์กู้ชีพ Ambu bag และ oxygen face mask, IV fluid set, IV fluid for resuscitation/Normal saline/ Ringer’s lactated solution, Adrenaline , Endotracheal tube, Laryngoscope มีอุปกรณ์ในระบบลูกโซ่ความเย็น ตู้เย็นที่มีพื้นที่เพียงพอ, กระติกวัคซีน และIcepack , Stock card, ใบเบิกวัคซีน ว.3/1

บุคลากร ควรมีการอบรมแนวทางการปฏิบัติการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน มีการวางแผนการดำเนินงานร่วมกันในการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ เจ้าหน้าที่ให้วัคซีนควรได้รับการอบรมการกู้ชีพเบื้องต้น เป็นระยะเวลาไม่เกิน 2 ปี ตามมาตรฐานงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

ช่องทางประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ ช่องทางประชาสัมพันธ์ เสียงตามสาย ป้ายประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์โดยบุคลากรทางการแพทย์และอาสาสมัครสาธารณสุข เนื้อหา การให้บริการในคลินิกผู้ใหญ่ ประโยชน์ของการได้รับวัคซีน กำหนดการให้วัคซีนผู้ใหญ่ สิทธิประโยชน์การได้รับวัคซีนในกลุ่มผู้ใหญ่

การให้บริการวัคซีน ก่อนให้บริการ ขณะให้บริการ หลังให้บริการ นัดหมายผู้มารับบริการ การจัดเตรียมการบันทึกการให้บริการและการรายงาน การจัดเตรียมอุปกรณ์การฉีด วัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น ก่อนให้บริการ ซักประวัติและตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ให้ความรู้ ฉีดวัคซีน บันทึก Lot. No. และลำดับขวด รอสังเกตอาการ 30 นาที กำจัดอุปกรณ์ในลักษณะขยะติดเชื้อ เก็บขวดวัคซีนที่ใช้แล้วในตู้เย็นอย่างน้อย 7 วัน ขณะให้บริการ การบันทึกข้อมูลใน 43 แฟ้ม และจัดทำทะเบียนการให้บริการ ตรวจสอบและติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้มารับวัคซีนตามนัด จัดทำทะเบียนความครอบคลุมการได้รับวัคซีน หลังให้บริการ

ก่อนให้บริการ การนัดหมายผู้มารับบริการ สืบค้นรายชื่อและตรวจสอบกลุ่มเป้าหมาย dT: ผู้ใหญ่ที่เกิดในเดือนนั้นและที่มีอายุครบ 20, 30, 40, …. และหญิงตั้งครรภ์ Flu: หญิงตั้งครรภ์ที่จะมีอายุครรภ์ครบ 4 เดือนขึ้นไป ในวันที่ให้บริการวัคซีน MR: นักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ได้รับครบตามกำหนด ได้รับไม่ครบตามกำหนด ไม่ต้องรับวัคซีน นัดหมายมารับวัคซีน

ก่อนให้บริการ การจัดเตรียมการบันทึกการให้บริการและการรายงาน เตรียมรหัสวัคซีน ในระบบ HIS ให้ครบถ้วนถูกต้อง เตรียมทะเบียนรายชื่อผู้มารับบริการ เตรียมทะเบียนรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เตรียมทะเบียนรายงานผลการให้บริการ (รายเดือน) ลำดับ ชื่อวัคซีน รหัสที่ใช้บันทึก รหัสส่งออก ICD-10-TM 1 dT 106 Z23.5, Z23.6 2 flu 815 Z25.1 3 MR 074 Z24.4, Z24.5

ก่อนให้บริการ การจัดเตรียมอุปกรณ์การฉีด วัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น กำหนดลำดับที่ของขวดวัคซีน เตรียมบันทึกเลขที่ Lot. No.และขวดวัคซีน เตรียมวัคซีนให้พร้อมใช้ และเก็บไว้ที่อุณหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส เตรียมอุปกรณ์กู้ชีพ ให้ครบถ้วน พร้อมใช้งาน เตรียมวัสดุอุปกรณ์การฉีดวัคซีน ให้ครบถ้วน พร้อมใช้งาน

การให้บริการวัคซีน ก่อนให้บริการ ขณะให้บริการ หลังให้บริการ นัดหมายผู้มารับบริการ การจัดเตรียมการบันทึกการให้บริการและการรายงาน การจัดเตรียมอุปกรณ์การฉีด วัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น ก่อนให้บริการ ซักประวัติและตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ให้ความรู้ ฉีดวัคซีน บันทึก Lot. No. และลำดับขวด รอสังเกตอาการ 30 นาที กำจัดอุปกรณ์ในลักษณะขยะติดเชื้อ เก็บขวดวัคซีนที่ใช้แล้วในตู้เย็นอย่างน้อย 7 วัน ขณะให้บริการ การบันทึกข้อมูลใน 43 แฟ้ม และจัดทำทะเบียนการให้บริการ ตรวจสอบและติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้มารับวัคซีนตามนัด จัดทำทะเบียนความครอบคลุมการได้รับวัคซีน หลังให้บริการ

ขณะให้บริการ ซักประวัติและตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน dT Influenza MR ข้อห้ามใช้ มีประวัติการแพ้รุนแรง มีปฏิกิริยาภายหลังได้รับวัคซีนชนิดนี้ มีประวัติแพ้ส่วนประกอบของวัคซีน ข้อห้ามใช้ แพ้ไข่ไก่อย่างรุนแรง เคยแพ้วัคซีน/ส่วนประกอบอย่างรุนแรง กำลังมีไข้ /เจ็บป่วยเฉียบพลัน หายจากการป่วยเฉียบพลัน <7 วัน รักษาตัวและออกจากโรงพยาบาล <14 วัน มีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง / เคยมีภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์ ข้อห้ามใช้ มีประวัติการแพ้รุนแรง มีปฏิกิริยาภายหลังได้รับวัคซีนชนิดนี้ มีประวัติแพ้ส่วนประกอบของวัคซีน

ขณะให้บริการ ให้ความรู้ ฉีดวัคซีน ประโยชน์และความปลอดภัยของวัคซีน อาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นภายหลังได้รับวัคซีน แนวทางการปฏิบัติตนแก่ผู้มารับวัคซีน ให้เวลาผู้รับบริการตัดสินใจในการรับวัคซีนโดยสมัครใจ ฉีดวัคซีน วัคซีน dT และ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 0.5 มล. วัคซีน MR ฉีดใต้ผิวหนัง(SC) 0.5 มล.

ขณะให้บริการ บันทึก Lot. No. และลำดับขวด รอสังเกตอาการ 30 นาที กำจัดอุปกรณ์ในลักษณะขยะติดเชื้อ เก็บขวดวัคซีนที่ใช้แล้วในตู้เย็นอย่างน้อย 7 วัน

การให้บริการวัคซีน ก่อนให้บริการ ขณะให้บริการ หลังให้บริการ นัดหมายผู้มารับบริการ การจัดเตรียมการบันทึกการให้บริการและการรายงาน การจัดเตรียมอุปกรณ์การฉีด วัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น ก่อนให้บริการ ซักประวัติและตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ให้ความรู้ ฉีดวัคซีน บันทึก Lot. No. และลำดับขวด รอสังเกตอาการ 30 นาที กำจัดอุปกรณ์ในลักษณะขยะติดเชื้อ เก็บขวดวัคซีนที่ใช้แล้วในตู้เย็นอย่างน้อย 7 วัน ขณะให้บริการ การบันทึกข้อมูลใน 43 แฟ้ม และจัดทำทะเบียนการให้บริการ ตรวจสอบและติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้มารับวัคซีนตามนัด จัดทำทะเบียนความครอบคลุมการได้รับวัคซีน หลังให้บริการ

การบันทึกข้อมูล **ถ้าไปรับวัคซีนที่อื่นต้องนำมาบันทึกด้วย** การบันทึกข้อมูลผ่านฐานข้อมูลชุดมาตรฐานด้านสุขภาพ (43 แฟ้ม) การบันทึกข้อมูลในสมุดวัคซีนสำหรับผู้ใหญ่/สมุดสุขภาพแม่และเด็ก ข้อมูลทั่วไปของผู้มารับบริการ ข้อมูลการให้บริการ ชื่อ ที่อยู่ อายุ เพศ วันเดือนปีเกิด รหัสHN วันที่ได้รับวัคซีน ชนิดวัคซีนที่ได้รับ เลขที่ผลิตวัคซีน วันนัดหมายครั้งต่อไป (ถ้ามี) รหัส ICD-10-TM รหัสวัคซีน ชื่อผู้ให้บริการ ชื่อหน่วยบริการ ชนิดวัคซีน วันที่ได้รับวัคซีน วันนัดหมายครั้งต่อไป (ถ้ามี) **ถ้าไปรับวัคซีนที่อื่นต้องนำมาบันทึกด้วย**

หลังให้บริการ ตรวจสอบและติดตามกลุ่มเป้าหมาย ที่ไม่ได้มารับวัคซีนตามนัด จัดทำทะเบียนความครอบคลุมการได้รับวัคซีน

การบันทึกและจัดทำรายงาน

ขอบเขต เนื้อหา การจัดทำรายงาน การคำนวณความครอบคลุมการได้รับวัคซีน การรายงานผล การติดตามประเมินผล

การจัดทำรายงาน รายงาน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ผลการปฏิบัติงาน กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ในพื้นที่ ผู้ได้รับวัคซีนนอก/ในพื้นที่ ทั้งหมด กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ทะเบียนผู้มารับบริการ ทะเบียนติดตามความครอบคลุม

การจัดทำทะเบียนรายงาน ผลการปฏิบัติงาน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ทะเบียนผู้รับบริการ ทะเบียนความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ชื่อ อายุ ที่อยู่ ชนิดของวัคซีนที่ได้รับ ชื่อ อายุ ที่อยู่ ชนิดของวัคซีนที่ได้รับ วันที่ได้รับวัคซีน

ทะเบียนผู้มารับบริการวัคซีน dT ในผู้ใหญ่ สถานบริการ รพ./รพสต. ……………มงคลชัย………………………. วันที่ให้บริการ 29 มีนาคม 2562   ลำดับที่ ชื่อ-สกุล อายุ (ปี) การได้รับวัคซีน dT หมู่ที่ 1 บ้านหินทราย 1 นายสมจิตร พิชิตภูผา 30 Y 2 นส.อัจฉรา โอฬาร 25 3 นางอรษา สังวาลสวย 40 4 นายทศพล สุวรรณ 20 5 นางฉัตรสุดา สนิมสร้อย 50

ทะเบียนผู้มารับบริการวัคซีน dT และ influenza ในหญิงตั้งครรภ์ สถานบริการ รพ./รพสต. ……………ผาสุก……………………………………………. วันที่ให้บริการ 29 มีนาคม 2562   ลำดับที่ ชื่อ-สกุล อายุ (ปี) อายุครรภ์ (สัปดาห์-วัน) การได้รับวัคซีน dT Influenza 1 นางกรวีร์ ฉายรัศมี 28 28 wks Y 2 นส.จันทร์กระจ่าง มณีโชติช่วงชัชวาล 25 20 wks 3 นางเตือนใจ สันทรายขาว 30 16 wks

ทะเบียนผู้มารับบริการวัคซีน MR ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข สถานบริการ รพ./รพสต. ……………มงคลชัย………………………. วันที่ให้บริการ 29สิงหาคม 2562   ลำดับที่ ชื่อ-สกุล อายุ (ปี) การได้รับวัคซีน MR คณะแพทย์ศาสตร์ มหาลัยฮอควอท 1 นายสุนทร เทวา 20 Y 2 นายหมื่นเรือง ฤทธิไกร 19 3 นายพีระพงษ์ พงศ์ไทยหิรัญ 4 นายธีระพงศ์ ตันติสินไชย 5 นส.ศิริวงศ์ สุวรรณพฤกษ์ 6 นส.ฉัตรสุมนต์ อาสาไชย

ทะเบียนติดตามความครอบคลุมวัคซีน dT และ influenza ในหญิงตั้งครรภ์ สถานบริการ รพ./รพสต. ……………ผาสุก……………………………………………. ปีงบประมาณ 2562   ลำดับที่ ชื่อ-สกุล อายุ (ปี) อายุครรภ์ (สัปดาห์-วัน) การได้รับวัคซีน dT 1 dT2 dT3 influenza หมู่ที่ 1 บ้านคา  1 นางกรวีร์ ฉายรัศมี 28 28 wks 22-ก.พ.-60 29-มี.ค.-60 2 นส.จันทร์กระจ่าง มณีโชติช่วงชัชวาล 25 20 wks หมู่ที่ 3 บ้านหนองหญ้าปล้อง นางเตือนใจ สันทรายขาว 30 16 wks นอกเขต  นางสอางค์ สุขสมบูรณ์ 29 22 wks 25-ม.ค.-60

ทะเบียนติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีน dT ในผู้ใหญ่

ทะเบียนติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข สถานบริการ รพ./รพสต. ……………ผาสุก…………………………………………….   ที่ ชื่อ-สกุล อายุ (ปี) ชั้นปี การได้รับวัคซีน MR คณะแพทย์ศาสตร์ มหาลัยฮอควอท 1 นายสุนทร เทวา 20 29 ส.ค. 61 2 นายหมื่นเรือง ฤทธิไกร 19 3 นายพีระพงษ์ พงศ์ไทยหิรัญ 4 นายธีระพงศ์ ตันติสินไชย 5 นส.สังวาลย์ สายอ่อน 18

การคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีน เพื่อเพิ่มระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ในกลุ่มผู้ใหญ่ การวัดความสำเร็จการดำเนินงานการให้บริการวัคซีนในผู้ใหญ่

การคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน = จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในพื้นที่ ที่รับผิดชอบได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ x 100 จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด ที่อยู่ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ

การคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีน การคำนวณความครอบคลุม dT ในผู้ใหญ่ dT ในหญิงตั้งครรภ์ Influenza ในหญิงตั้งครรภ์ MR ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข กำหนดการให้วัคซีน เกณฑ์การพิจารณา ความครอบคลุม วิธีการคำนวณ

การคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีน dT ในคลินิกวัคซีนในผู้ใหญ่

เกณฑ์การพิจารณาความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในผู้ใหญ่ ประวัติการได้รับวัคซีน การได้รับวัคซีน dT เกณฑ์การพิจารณา เคยได้รับครบ 3 ครั้ง เกิน 10 ปี 1 เข็ม ผ่านเกณฑ์ ไม่ได้รับ ไม่ผ่านเกณฑ์ เคยได้รับครบ 3 ครั้ง 5- 10 ปี ผู้รับบริการอายุ 20 ปี ที่เคยได้รับครบ 3 ครั้ง เคยครบ 3 ครั้ง <5 ปี

เกณฑ์การพิจารณาความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในผู้ใหญ่ ประวัติการได้รับวัคซีน การได้รับวัคซีน dT เกณฑ์การพิจารณา เคยได้รับ 2 ครั้ง 1 เข็ม ผ่านเกณฑ์ ไม่ได้รับ ไม่ผ่านเกณฑ์ เคยได้รับ 1 ครั้ง 2 เข็ม ไม่เคยได้รับ/ไม่แน่ใจ/ไม่ทราบประวัติ 3 เข็ม 2,1,0 เข็ม

การคำนวณความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในผู้ใหญ่ รพ.สต. สีชมพู การให้วัคซีน dT ในผู้ใหญ่ ปี 2561 ดังนี้ ที่ ชื่อ วันเกิด อายุ (ปี) ประวัติวัคซีนที่ผ่านมา การได้รับวัคซีน ในคลินิกadult ปี 2561 เกณฑ์ 1 นาง มีน 1 เมย 11 50 TT-ANC 3 ครั้ง (เมื่ออายุ 26 ปี) dT รณรงค์ ปี 2558 จำนวน 1 ครั้ง ไม่ได้รับวัคซีน ไม่ผ่านเกณฑ์ 2 นาย โดม 24 มิย 01 60 สุนัขกัด ได้รับวัคซีน dT 3 ครั้ง (เมื่ออายุ 54 ปี) ผ่านเกณฑ์ 3 นาย ติ๊ก 12 เมย 2491 70 ไม่ทราบประวัติ dT adult 3 ครั้ง 4 นาย เชษฎ์ 23 พค 11 dT บาดแผล 3 ครั้ง (เมื่ออายุ 45 ปี)

การคำนวณความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในผู้ใหญ่ การให้วัคซีนในผู้ใหญ่ เริ่มให้วัคซีน dT ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2561 ซึ่งจะมีระยะเวลาการให้บริการวัคซีน dT ในกลุ่มเป้าหมาย เป็นระยะเวลา 1 ปี ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในผู้ใหญ่ ปี 2562 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน = จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในพื้นที่ ที่รับผิดชอบได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ x 100 จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด ที่อยู่ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ แทนค่า ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของคอตีบ = 3 X 100 = 75% 4

การคำนวณความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในผู้ใหญ่ การให้วัคซีนในผู้ใหญ่ เริ่มให้วัคซีน dT ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2561 ซึ่งจะมีระยะเวลาการให้บริการวัคซีน dT ในกลุ่มเป้าหมาย เป็นระยะเวลา 1 ปี ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในผู้ใหญ่ ไตรมาส 3 ปี 2562 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน = จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในพื้นที่ ที่รับผิดชอบได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ x 100 จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด ที่อยู่ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ แทนค่า ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของคอตีบ = 3 X 100 = 75% 4

การคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีน dT ในหญิงตั้งครรภ์

ประวัติการได้รับวัคซีน เกณฑ์การพิจารณาความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในหญิงตั้งครรภ์ ประวัติการได้รับวัคซีน การได้รับวัคซีน dT เกณฑ์การพิจารณา เคยได้รับครบ 3 ครั้ง เกิน 10 ปี 1 เข็ม ผ่านเกณฑ์ ไม่ได้รับ ไม่ผ่านเกณฑ์ เคยได้รับครบ 3 ครั้ง < 10 ปี ผู้รับบริการอายุ 20 ปี ที่เคยได้รับครบ 3 ครั้ง เคยครบ 3 ครั้ง <5 ปี

ประวัติการได้รับวัคซีน เกณฑ์การพิจารณาความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยักในหญิงตั้งครรภ์ ประวัติการได้รับวัคซีน การได้รับวัคซีน dT เกณฑ์การพิจารณา เคยได้รับ 2 ครั้ง 1 เข็ม ผ่านเกณฑ์ ไม่ได้รับ ไม่ผ่านเกณฑ์ เคยได้รับ 1 ครั้ง 2 เข็ม ไม่เคยได้รับ/ไม่แน่ใจ/ไม่ทราบประวัติ 3 เข็ม 2,1,0 เข็ม

การคำนวณความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในหญิงตั้งครรภ์ ตัวอย่าง ปี 2561 มีหญิงวัยเจริญพันธุ์มาฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลสายน้ำผึ้ง จำนวน 20 คน และมีหญิงตั้งครรภ์ที่คลอด จำนวน 14 คน โดยมีหญิงตั้งครรภ์ที่คลอด มีประวัติการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยักครบตามเกณฑ์ จำนวน 13 คน โดยมีหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดในระหว่างเดือนเมษายน ถึง เดือน มิถุนายน จำนวน 4 ราย ซึ่งได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยักครบตามเกณฑ์ 3 ราย

การคำนวณความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในหญิงตั้งครรภ์ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยักหญิงตั้งครรภ์ ปี 2561 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน = จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดในช่วงเวลานั้นๆได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยักตามเกณฑ์ x 100 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดในปีนั้นๆ ที่อยู่ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ หญิงตั้งครรภ์ที่คลอด จำนวน 14 คน มีประวัติการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยักครบตามเกณฑ์ จำนวน 13 คน แทนค่า ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของคอตีบ = 13 X 100 = 92.85% 14

การคำนวณความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในหญิงตั้งครรภ์ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยักหญิงตั้งครรภ์ ในไตรมาส 3 ปี 2561 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน = จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดในช่วงเวลานั้นๆได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยักตามเกณฑ์ x 100 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดในปีนั้นๆ ที่อยู่ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ มีหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดในระหว่างเดือนเมษายน - มิถุนายน จำนวน 4 ราย ได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยักครบตามเกณฑ์ 3 ราย แทนค่า ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของคอตีบ = 3 X 100 = 75% 4

การคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีน วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในหญิงตั้งครรภ์

เกณฑ์การพิจารณาความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในหญิงตั้งครรภ์ กำหนดการ ให้วัคซีน 1 ครั้ง แก่หญิงตั้งครรภ์ทุกคน เมื่อมีอายุครรภ์ตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไป ประวัติการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ เกณฑ์การพิจารณา ได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ 1 ครั้ง ในช่วงอายุครรภ์ตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ ไม่ได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ไม่ผ่านเกณฑ์

การคำนวณความครอบคลุมการได้รับ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในหญิงตั้งครรภ์ ตัวอย่าง ปี 2561 มีหญิงวัยเจริญพันธุ์มาฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลสายน้ำผึ้ง จำนวน 20 คน และมีหญิงตั้งครรภ์ที่คลอด จำนวน 14 คน โดยมีหญิงตั้งครรภ์ที่คลอด มีประวัติการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล จำนวน 10 คน โดยมีหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดในระหว่างเดือนเมษายน ถึง เดือน มิถุนายน จำนวน 4 ราย ซึ่งได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลทุกราย

การคำนวณความครอบคลุมการได้รับ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในหญิงตั้งครรภ์ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในหญิงตั้งครรภ์ ปี 2561 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน = จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดช่วงเวลานั้นๆได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ระหว่างตั้งครรภ์ x 100 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดในปีนั้นๆ ที่อยู่ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ มีหญิงตั้งครรภ์ที่คลอด จำนวน 14 คน มีประวัติการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล จำนวน 10 คน แทนค่า ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในหญิงตั้งครรภ์ = 10 X 100 = 71.42% 1 4

การคำนวณความครอบคลุมการได้รับ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในหญิงตั้งครรภ์ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในหญิงตั้งครรภ์ ในไตรมาส 3 ปี 2561 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน = จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดช่วงเวลานั้นๆได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ระหว่างตั้งครรภ์ x 100 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดในปีนั้นๆ ที่อยู่ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ หญิงตั้งครรภ์ที่คลอดในระหว่างเดือนเมษายน - มิถุนายน จำนวน 4 ราย ได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลทุกราย แทนค่า ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในหญิงตั้งครรภ์ = 4 X 100 = 100% 4

การคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข

เกณฑ์การพิจารณาความครอบคลุมการได้รับ MR ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข กำหนดการ ให้วัคซีน MR 1 ครั้ง ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข ชั้นปีที่ 1 ประวัติการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ เกณฑ์การพิจารณา ได้รับวัคซีนหัด-หัดเยอรมัน 1 ครั้ง ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข ผ่านเกณฑ์ ไม่ได้รับวัคซีนหัด-หัดเยอรมัน ไม่ผ่านเกณฑ์

การคำนวณความครอบคลุมการได้รับ MR ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข ตัวอย่าง ปี 2561 ในพื้นที่ รพ สายน้ำผึ้ง มีมหาวิทยาลัยในพื้นที่รับผิดชอบ 1 แห่ง คือ วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธร และได้ให้บริการวัคซีนหัด-หัดเยอรมัน ในนักศึกษาชั้นปีที่ 1 เมื่อวันที่ 15 และ 22 มิถุนายน 2561 ทั้งนี้มีนักศึกษาบางส่วนประสงค์ไปรับวัคซีน MR จากที่อื่น มหาวิทยาลัย รายชื่อคณะ นักศึกษาที่ได้รับวัคซีน MR นักศึกษาทั้งหมด รับจาก รพ รับจากที่อื่น วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธร คณะพยาบาลศาสตร์ 100 45 150 คณะสาธารณสุขศาสตร์ 145 5

การคำนวณความครอบคลุมการได้รับ MR ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข การคำนวณความครอบคลุมต้องพิจารณาการได้รับวัคซีน ของนักศึกษา รายคณะ รายมหาวิทยาลัย ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ใน นศ. ชั้นปีที่ 1 คณะพยาบาลศาสตร์ ปี 2561 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน = จำนวนนักศึกษาฯ ชั้นปีที่ 1 ของคณะนั้นๆ/มหาวิทยาลัยนั้นๆ ได้รับวัคซีนหัด-หัดเยอรมัน x 100 จำนวนนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ของคณะนั้นๆ/มหาวิทยาลัยนั้นๆ ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ แทนค่า ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด-หัดเยอรมัน ใน นศ.ฯ ชั้นปีที่ 1 = (100+45) X 100 = 96.66 % 150

การคำนวณความครอบคลุมการได้รับ MR ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข การคำนวณความครอบคลุมต้องพิจารณาการได้รับวัคซีน ของนักศึกษา รายคณะ รายมหาวิทยาลัย ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ใน นศ. ปีที่ 1 วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธร ปี 2561 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน = จำนวนนักศึกษาฯ ชั้นปีที่ 1 ของคณะนั้นๆ/มหาวิทยาลัยนั้นๆ ได้รับวัคซีนหัด-หัดเยอรมัน x 100 จำนวนนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ของคณะนั้นๆ/มหาวิทยาลัยนั้นๆ ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ แทนค่า ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด-หัดเยอรมัน ใน นศ.ฯ ชั้นปีที่ 1 = (100+45+145+5) X 100 = 98.33 % 150+150

ข้อมูลผ่านฐานข้อมูลชุดมาตรฐานด้านสุขภาพ (43 แฟ้ม) การรายงานผล dT ในผู้ใหญ่ / influenza ในหญิงตั้งครรภ์ ข้อมูลผ่านฐานข้อมูลชุดมาตรฐานด้านสุขภาพ (43 แฟ้ม) MR ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข ข้อมูลผ่านฐานข้อมูลชุดมาตรฐานด้านสุขภาพ (43 แฟ้ม) ให้ อำเภอ รวบรวมข้อมูล ส่งให้ สสจ. และ สสจ. ส่งให้ สคร เพื่อรายงานผลการดำเนินงานผ่านเวปไซด์ กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน เมื่อเปิดเทอม 1

การติดตามและประเมินผล การประเมินด้านการปฏิบัติงาน : ความคลุมการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย dT/Flu ใช้ข้อมูล 43 แฟ้ม และ ทะเบียนความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR จากรายงานผลใน website กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน การประเมินรูปแบบการให้บริการ การประเมินอัตราสูญเสีย การประเมินการประชาสัมพันธ์

สิ่งสนับสนุน สมุดวัคซีนผู้ใหญ่ แบบคัดกรอง (สื่อต้นแบบ) เอกสารให้ความรู้ (สื่อต้นแบบ)

THANK YOU