นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
Advertisements

แผนงาน ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าภาค การเกษตร ผลผลิตที่ 3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาการ ดำเนินธุรกิจ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และ.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4505 ( พ. ศ. 2556) ออกตามความใน พระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
ประชาคมอาเซียน.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การลงทุนโรงไฟฟ้าถ่านหิน
แนวคิดทางการบริหารการพัฒนา Development Administration
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ความเสี่ยงเรื่องการตลาด
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การออกแบบและเทคโนโลยี
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การจัดการความรู้ Knowledge Management
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
Supply Chain Management
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
รักษ์โลก ลดร้อน ด้วยสองมือ EENT.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ข้อมูลนำเสนอโครงการ ประจำปีงบประมาณ 2562
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
การสร้างพันธมิตรการเกษตรเพื่อลดต้นทุนการผลิต และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว

BCG in Action จัดทำโดย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นำเสนอนายกรัฐมนตรี เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมชีวภาพ (Bio-industry) มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรชีวภาพ คือ พืช จุลินทรีย์ และวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร มีผลต่อการขับเคลื่อนสู่ ไทยแลนด์ 4.0

BCG Model เป็นรูปแบบการพัฒนาประเทศแนวใหม่ มุ่งบูรณาการเศรษฐกิจ 3 มิติ คือ ชีวภาพ หมุนเวียนและสีเขียว (Bio Circular Green) นำองค์ความรู้มาต่อยอดจุดแข็งของประเทศ คือ ความหลากหลายทางชีวภาพและผลผลิตทางการเกษตรที่อุดมสมบูรณ์ ปรับเปลี่ยนระบบการผลิต ไปสู่ การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า สร้างความมั่นคงของวัตถุดิบและสมดุลของสิ่งแวดล้อม

สาระสำคัญของ BCG Model มุ่งพัฒนา 4 อุตสาหกรรมเป้าหมาย คือ เกษตรและอาหาร 2. พลังงานและเคมีชีวภาพ 3. การแพทย์และสุขภาพ 4. การท่องเที่ยว

มองการพัฒนาในลักษณะของพีระมิด ยอดพีระมิด = ผู้ประกอบการที่มีความพร้อมสูง มีกำลังลงทุนในเทคโนโลยี พร้อมรับความเสี่ยง แม้มีจำนวนน้อยแต่สร้างมูลค่าเพิ่มได้สูง ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมพลังงานและเคมีชีวภาพ จะพัฒนาเป็น Biorefinery Hub ของเอเชีย ฐานพีระมิด = ผู้ประกอบการ เกษตรกรหรือภาคชุมชนที่ใช้เทคโนโลยีไม่สูง แต่เกี่ยวข้องกับคนจำนวนมาก เน้นผลผลิตมูลค่าสูง ลดปัจจัยการผลิต และผลกระทบสิ่งแวดล้อม

เศรษฐกิจชีวภาพ Bioeconomy มุ่งเน้นการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพอย่างคุ้มค่า รักษาสมดุลทางสิ่งแวดล้อม อาศัยเทคโนโลยีช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ทรัพยากรชีวภาพต้องปลูกทดแทนหรือนำมาใช้ใหม่ได้ ลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิลและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

เศรษฐกิจหมุนเวียน Circular economy วางแผนให้ทรัพยากรในระบบการผลิตทั้งหมดหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ได้ เพื่อรับมือการขาดแคลนทรัพยากรในอนาคต มุ่งเน้นการคงคุณค่าผลิตภัณฑ์ให้นานที่สุด ส่งเสริมการใช้ซ้ำ สร้างของเสียให้มีปริมาณต่ำสุด ต่างจากระบบเศรษฐกิจแบบดั้งเดิมที่ใช้ทรัพยากรแล้วเกิดของเสีย เป็นเส้นตรง (Linear economy)

เศรษฐกิจสีเขียว Green economy มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาที่สมดุล 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม เน้นการใช้ทรัพยากรอย่างสมดุล นำไปสู่ความยั่งยืนและแข่งขันได้ในระดับสากล

นสพ.กรุงเทพธุรกิจ 19 เม.ย. 62

วีดิทัศน์ 10 10/1 BCG Model 3:31 นาที youtu.be/PYLOJ232zeE 10/2 วิกฤติขยะอาหาร 12:13 นาที youtu.be/r8Us6zjz0Xw 10/3 อาหารเหลือ เขย่าโลก 24:40 นาที youtu.be/MJgkIWNTB64 รวม 40:24 นาที