บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
EC451 International Trade Theory and Policy
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
ตัวแบบอรรถประโยชน์ (utility theory)
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
ดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium)
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ตัวอย่าง: ดุลยภาพในการแลกเปลี่ยนและการผลิต
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Efficiency & Economy DRMC. ทางเลือก INPUTS OUTPUTS Land, Labor, Capital Consumer Goods Defense Goods Investment Items, etc..
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
พฤติกรรมผู้บริโภค.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
Integrated Marketing Communication
พฤติกรรมผู้บริโภค ศิวาพร ทรงวิวัฒน์.
Demand in Health Sector
เรื่องที่ 1 เรื่องที่ 2 เรื่องที่ 3 เรื่องที่ 4 เรื่องที่ 5 บทเรียน.
เรื่องที่ 1 เรื่องที่ 2 เรื่องที่ 3 เรื่องที่ 4 เรื่องที่ 5 บทเรียน.
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต.
เฉลยแบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมก่อนเรียน บทที่ 3 Consumer Behavior
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Foundations of Economic Thinking:
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Engineering
บทที่ 7 ราคา Price.
เอกสารรายวิชา: : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
เอกสารเพื่อการขนส่งทางรถ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics)
คู่มือวิชาโดยสังเขป ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค
กฎหมายอาญา(Crime Law)
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
การแบ่งส่วนตลาดและการตลาดเป้าหมาย (Market Segmentation and Targeting)
บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
กระทรวงศึกษาธิการ.
การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
บทที่ 1 หลักเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
การเงินระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
Topic 12 เงิน สถาบันการเงิน นโยบายการเงิน VS การคลังสาธารณะ(Public Finance) รศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
โดย อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
แถลงข่าวดัชนีราคา เดือนกุมภาพันธ์ 2551
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ J.chontanawat@gmail.com

ทฤษฎีอธิบายพฤติกรรมผู้บริโภค ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory) เป็นทฤษฎีที่ถือว่าความพอใจของผู้บริโภคสามารถวัดได้ ถือเป็น Cardinal Theory ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve Theory) เป็นทฤษฎีที่ถือว่าความพอใจของผู้บริโภคไม่สามารถวัดได้ จะบอกได้เพียงว่ามีความพอใจมากกว่าหรือน้อยกว่า ถือเป็น Ordinary Theory

ทฤษฎีอรรถประโยชน์ อรรถประโยชน์ (Utility) : ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการอุปโภคบริโภคสินค้าและบริการ ความพอใจที่ได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการสามารถวัดเป็นหน่วย ได้เรียกว่า util เศรษฐทรัพย์ (Economic goods) ทุกชนิดย่อมมีอรรถประโยชน์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการในสินค้า สินค้าชนิดเดียวกันจำนวนเท่ากันอาจให้ประโยชน์ต่างกันได้ กรณีเวลาต่างกัน หรือผู้บริโภคต่างกัน

ความหมายของอรรถประโยชน์เพิ่ม(MU) และอรรถประโยชน์รวม (TU) อรรถประโยชน์เพิ่ม (Marginal Utility :MU) ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับเพิ่มขึ้นจากการบริโภคสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย อรรถประโยชน์รวม(Total Utility : TU) ผลรวมของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (MU) ที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้า ตั้งแต่หน่วยแรกจนถึงหน่วยที่กำลังพิจารณา TU = MUi MUn = TUn – TUn-1 N i=1

ความสัมพันธ์ระหว่าง TU และ MU

Relationship between Total and Marginal Utility (continued) MU > 0 , TU MU = 0 , max TU MU < 0 , TU กฏการลดน้อยลงอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม เมื่อผู้บริโภคได้รับสินค้าหรือบริการเพิ่มขึ้นๆที่ละหน่วยอรรถประโยชน์ ส่วนเพิ่มของสินค้าและบริการหน่วยที่เพิ่มนั้นจะลดลงตามลำดับ

ดุลยภาพของผู้บริโภค (Consumer Equilibrium) เป็นการพิจารณาว่าผู้บริโภคจะใช้จ่ายเงินรายได้ที่มีอยู่จำกัดในการซื้อสินค้าและบริการชนิดต่างๆ อย่างไร จึงจะได้รับความพอใจสูงสุด (Maximize Utility)

ดุลยภาพผู้บริโภค กรณีที่ผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด และสินค้าทุกชนิดมีราคาเท่ากัน max TU เมื่อ MUa = MUb = ………= 0 กรณีที่ผู้บริโภคมีรายได้จำกัดและสินค้าทุกชนิดราคาเท่ากัน max TU เมื่อ MUa = MUb = ……… = MUn = k กรณีที่ผู้บริโภคมีรายได้จำกัดและสินค้าทุกชนิดราคาไม่เท่ากัน max TU เมื่อ MUa/Pa = MUb/Pb = ……… = MUn / Pn = k

เงื่อนไขการบริโภคที่เหมาะสมที่สุดภายใต้รายได้จำกัด MU , TU Mub Mua Q2 Q1 Q3 Q2 Q1 Q3 สัดส่วนการบริโภคสินค้า a จำนวน Q1 หน่วย และ b จำนวน Q1 หน่วย ดีที่สุด เงื่อนไขนี้คือ Mua = Mub

ข้อโต้แย้งทฤษฎีอรรถประโยชน์ ในการซื้อสินค้าและบริการผู้บริโภคไม่ได้สนใจถึง MU ของสินค้าแต่ละชนิด ทำให้ไม่เกิดดุลยภาพ ผู้บริโภคมักซื้อสินค้าตามความเคยชิน ไม่ได้คำนึงถึง MU ความพอใจของผู้บริโภคไม่สามารถวัดเป็นหน่วยได้

ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve Theory) เส้นความพอใจเท่ากัน (เส้นIC ) คือ เส้นที่แสดงสัดส่วนของสินค้าสองชนิดที่แตกต่างกันแต่ให้ความพอใจแก่ผู้บริโภคเท่ากัน

แผนภาพเส้นความพอใจเท่ากัน เส้น IC ของผู้บริโภคคนหนึ่งๆ มีได้หลายเส้นเพราะความพอใจของผู้บริโภคมีหลายระดับ โดยเส้นที่อยู่เหนือกว่าย่อมให้ความพอใจมากกว่า IC3 > IC2 > IC1

คุณสมบัติของเส้นความพอใจเท่ากัน เป็นเส้นโค้งทอดลงจากซ้ายมาขวา เป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกำเนิด (origin) เส้นความพอใจเท่ากันตัดกันไม่ได้ เป็นเส้นที่ต่อเนื่องไม่ขาดตอน

อัตราส่วนเพิ่มของการทดแทนกันของสินค้า ชนิด (Marginal Rate of Substitution : MRS) สมมุติให้ x และ y เป็นสินค้า 2 ชนิดนั้น ถ้าผู้บริโภคได้รับสินค้า x เพิ่มขึ้น 1 หน่วย โดยได้รับสินค้า y ลดลง ค่า MRSxy = -dY/dX คือค่า slope ของเส้น IC ถ้าผู้บริโภคได้รับสินค้า y เพิ่มขึ้น 1 หน่วย โดยบริโภคสินค้า x ลดลง ค่า MRSyx = -dX/dY

กฎการลดน้อยถอยลงของอัตราส่วนเพิ่มของ การทดแทนกันของสินค้า 2 ชนิด (Law of Diminishing Marginal Rate of Substitution) เมื่อผู้บริโภคได้รับสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นที่ละหน่วย (สินค้า x) ค่า MRSxy จะมีค่าลดลงเรื่อยๆ เนื่องจากสินค้าทั้งสองชนิดทดแทนกันได้ไม่สมบูรณ์ ซึ่งเป็นเหตุผลที่อธิบายว่าทำไมเส้น IC จึงโค้งเข้าหาจุดกำเนิด

ข้อยกเว้น 1. กรณี 2 ชนิดทดแทนกันได้สมบูรณ์ x y IC 1. กรณี 2 ชนิดทดแทนกันได้สมบูรณ์ x y IC ค่า MRSxy , MRSyx มีค่าคงที่ตลอดทั้งเส้น ค่า MRSx = ∞ ในช่วง IC ตั้งฉาก ค่า MRSx = 0 ในช่วง IC ขนานกับ แกนนอน 2. สินค้า 2 ชนิดใช้ประกอบกัน y x IC

เส้นงบประมาณ (Budget Line) สินค้า y เส้นงบประมาณ slope = -Px/Py สินค้า x

การเปลี่ยนแปลงเส้นงบประมาณ 1. รายได้เปลี่ยน , ราคาสินค้า x และ y คงที่ y x 2. รายได้คงที่ , ราคาเปลี่ยน 2.2 รายได้คงที่ , ราคาสินค้า y เปลี่ยน , ราคา x คงที่ 2.1 รายได้คงที่ , ราคาสินค้า x เปลี่ยน , ราคา y คงที่ y y x x

ดุลยภาพของผู้บริโภค ดุลยภาพของผู้บริโภคจะเกิดขึ้นเมื่อผู้บริโภคใช้เงินที่มีอยู่จำกัดซื้อสินค้า 2 ชนิด โดยทำให้เขาได้รับความพอใจสูงสุด

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ (1) ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงเมื่อราคาสินค้าชนิดหนึ่งเปลี่ยน อีกชนิดหนึ่งคงที่

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ (2) ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงเมื่อรายได้ที่แท้จริงเปลี่ยน

การสร้างเส้นอุปสงค์จากการวิเคราะห์เส้น IC Price demand : Income demand :

Substitution Effect and Income Effect Note: (See more detail in the text books)