Chapter 2 Health Promotion for the Children

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สภาพและความต้องการของเด็กสถานพินิจเด็กและเยาวชนชาย:ศึกษากรณีบ้านมุทิตา
Colostrum: Food for Life น้ำนมเหลือง: อาหารเพื่อชีวิต ที่มา: ThePigSite Latest News September 2008 นสพ.วีริศ หิรัญเมฆาวนิช ฝ่ายขายและวิชาการ แผนกผลิตภัณฑ์สัตว์เศรษฐกิจ.
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
เด็กหญิงรุ่งฟ้า ชูรุ่ง
ผัก.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
โครเมี่ยม (Cr).
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Health Promotion for the Children
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
การประชุมวิชาการครั้งที่ 5/2560
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 2 Health Promotion for the Children 30/06/62 Chapter 2 Health Promotion for the Children อ.สุมาลา สว่างจิต http://www.teacher.ssru.ac.th/sumala_sa/ 30/06/62

จุดประสงค์การเรียนรู้ หลังสิ้นสุดการเรียนการสอนนักศึกษาสามารถ 1.บอกความต้องการสารอาหารในเด็กแต่ละวัยได้อย่างถูกต้อง 2.บอกหลักการส่งเสริมโภชนาการในเด็กได้อย่างถูกต้อง 3.บอกหลักการประเมินภาวะโภชนาการในเด็กได้อย่างถูกต้อง 4.อธิบายการให้การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาโภชนาการได้อย่างถูกต้อง 5.บอกแบบแผนการให้ภูมิคุ้มกันโรคได้อย่างถูกต้อง 6.อธิบายวิธีการให้คำแนะนำในการให้ภูมิคุ้มกันโรคได้อย่างถูกต้อง 30/06/62

Health Promotion is………… กระบวนการที่ทำให้บุคคลเพิ่มความสามารถในการควบคุมและปรับปรุงสุขภาพของตนเอง ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของสังคมและสิ่งแวดล้อมได้ (WHO, 2015) ซึ่งการส่งเสริมสุขภาพในเด็กประกอบด้วย อาหารและโภชนาการ (Feeding and Nutrition) การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน (Immunization) กิจกรรมการเล่น (Play) การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ (Environment) 30/06/62

อาหารและโภชนาการ (Feeding and Nutrition) อาหาร (food)หมายถึง สิ่งที่เรารับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วเกิดประโยชน์และช่วยเพิ่มพลังงานแก่ร่างกาย ทำให้เราสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ทั้งนี้ต้องไม่เป็นโทษต่อร่างกายในด้านต่าง ๆ สารอาหาร (nutrients)หมายถึง ส่วนประกอบที่อยู่ในอาหาร และร่างกายนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการดำรงชีวิตของร่างกาย โภชนาการ (nutrition) หมายถึง วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาหารซึ่งมีผลต่อสุขภาพและการเกิดโรค และกระบวนการของร่างกายในการรับประทาน ,ย่อย ,ดูดซึม ,ลำเลียง และขับถ่ายสารอาหาร 30/06/62

การคำนวณความต้องการสารอาหร Holiday& Segar 1st BW 10 kg 100 Kcal/kg/day 2nd BW 10 kg 50 Kcal/ kg/day Remained weight 20-30 Kcal/ kg/ day 30/06/62

เด็ก BW 36 kg ต้องการสารอาหารเท่าใด? 30/06/62

สารอาหารที่เด็กต้องการมีอะไรบ้าง 30/06/62 สารอาหารที่เด็กต้องการมีอะไรบ้าง พลังงาน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต น้ำ/ นม วิตามินและเกลือแร่ 30/06/62

ความต้องการสารอาหารในเด็กแต่ละวัย 30/06/62 ความต้องการสารอาหารในเด็กแต่ละวัย เด็กแรกเกิด (newborn) เด็กวัยทารก (Infant) เด็กวัยเด็ก (childhood) - วัยเตาะแตะ (toddler) - เด็กวัยก่อนเรียน (pre-school) - เด็กวัยเรียน (school age) เด็กวัยรุ่น (adolescence) 30/06/62

ความต้องการสารอาหารในเด็กแต่ละวัย(ต่อ) เด็กวัยทารก (Infant) ต้องการสารอาหารเพื่อช่วยเกี่ยวกับกระบวนการเจริญเติบโตและพัฒนาการ ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะสุขภาพเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ 30/06/62

(กิโลแคลอรี/ กิโลกรัม/ วัน) พลังงาน(ต่อ) ความต้องการพลังงานตามวัย ที่มา ดัดแปลงมาจาก: สำนักโภชนาการ. (2546). ปริมาณสารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. เข้าถึงเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2558, จาก http://nutrition.anamai.moph.go.th/temp/main/view.php?group=2&id=132. และ Holden, C., & Macdonald, A. (2000). Nutrition and Child Health. (1st ed.). London, United Kingdom. ช่วงอายุ (เดือน) พลังงานที่ต้องการ ต่างประเทศ ประเทศไทย (กิโลแคลอรี/ กิโลกรัม/ วัน) กิโลแคลอรี/วัน 1 - 2 115 500 3 -5 100 6 - 12 95 800 30/06/62

พลังงาน(ต่อ) พลังงานได้มาจากไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต การที่เด็กได้รับสารอาหารที่เพียงพอ ร่างกายจะเก็บสะสมโปรตีนไว้สร้างเนื้อเยื้อทำให้เนื้อเยื่อมีการเจริญเติบโต และจะดึงเอาพลังงานจากไขมันและคาร์โบไฮเดรตมาใช้เป็นพลังงาน โดยการกระจายพลังงานที่เหมาะสมสำหรับทารกจากสารอาหาร 3 ชนิด ดังนี้ โปรตีนร้อยละ 7 – 16 ไขมันร้อยละ 30 – 55 คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 35 – 65 (จงจิต อังคทะวานิช, 2538 อ้างใน พรทิพย์ ศิริบูรณ์พิพัฒนาและคณะ, 2555) 30/06/62

โปรตีน มีความสำคัญอย่างมากในการเจริญเติบโต โปรตีนที่เด็กทารกได้รับมาจากนมแม่หรือนมผสม และอาหารเสริมตามช่วงอายุ ที่มา ดัดแปลงมาจาก: พรทิพย์ ศิริบูรณ์พิพัฒนาและคณะ, 2555; สำนักโภชนาการ, 2546 30/06/62

คาร์โบไฮเดรต ใช้ในการสร้างพลังงานซึ่งสำนักโภชนาการแห่งประเทศไทย (สำนักโภชนาการ, 2546) ได้กำหนดความต้องการคาร์โบไฮเดรตไว้ ได้แก่ ช่วงอายุ 0-6 เดือน ต้องการร้อยละ 40 ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับต่อวัน น้ำนมแม่ ช่วงอายุ 6-11 เดือน ต้องการร้อยละ 45-65 ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับต่อวัน น้ำนมแม่ และอาหารเสริมตามช่วงวัย) 30/06/62

วิตามินและเกลือแร่ เด็ก 0-6 เดือน ที่ได้รับนมอย่างเพียงพอจะได้รับวิตามินที่มีความจำเป็นต่อร่างกายอย่างเพียงพอ ดังนี้ - Vitamin K - Vitamin D หากแม่ขาดให้เสริม 10 microgram/ day - Vitamin B12 - ธาตุเหล็ก (Iron) - ฟลูออไรด์ (Fluorine) เสริมเมื่อ 6 เดือน 30/06/62

น้ำ ส่วนประกอบประมาณร้อยละ 70 – 80 ของน้ำหนักตัว ในร่างกายของเด็กทารกเป็นน้ำ ถูกนำไปใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ของร่างกาย และเพื่อการเจริญเติบโต ดังนี้ ที่มา: Holden, C., & Macdonald, A. (2000). 30/06/62

น้ำ อายุ 0- 5 เดือน 500 มิลลิลิตร/วัน น้ำนมแม่ อายุ 0- 5 เดือน 500 มิลลิลิตร/วัน น้ำนมแม่ หรือขึ้นอยู่กับปริมาณความต้องการ อายุ 6-12 เดือน 800 มิลลิลิตรต่อวัน สำนักโภชนาการ, 2546 30/06/62

แนวทางการให้นมเพื่อให้ได้รับน้ำตามความต้องการตามช่วงอายุ พรทิพย์ ศิริบูรณ์พิพัฒนาและคณะ, 2555); Holden& Macdonald, 2000 30/06/62

6 เดือนแรก (กระเพาะเล็ก) ได้รับน้ำจากนม ไม่จำเป็นต้องให้น้ำตาม *******นมที่ดีที่สุดคือ นมแม่****** 30/06/62

นมแม่ (Breast feed: BF) สารอาหารครบ มีภูมิต้านทาน 20 Kcal/oz ชนิดของนม นมแม่ (Breast feed: BF) สารอาหารครบ มีภูมิต้านทาน 20 Kcal/oz 30/06/62

Preterm infant formula (PF) GA < 37 wks, LBW, VLBW, VVLBW นมผสม Preterm infant formula (PF) GA < 37 wks, LBW, VLBW, VVLBW 22 – 24 Kcal/Oz fat 40 – 50% Lactose 30/06/62

Infant formula (IF) 20 Kcal/Oz ใกล้เคียงกับนมแม่ cow/ soy นมผสม(ต่อ) Infant formula (IF) 20 Kcal/Oz ใกล้เคียงกับนมแม่ cow/ soy 30/06/62

Follow-on formula (FF) สูตรต่อเนื่อง 6 เดือน- 3 ปี เติมสารอาหาร นมผสม(ต่อ) Follow-on formula (FF) สูตรต่อเนื่อง 6 เดือน- 3 ปี เติมสารอาหาร 30/06/62

แบบฝึกหัด ทารกอายุ 2เดือน น้ำหนัก 4,800 กรัม ควรให้นมมื้อละกี่ ml (กำหนดให้ 6 มื้อ/วันเป็นนม IF) 30/06/62

ความต้องการสารน้ำ/อาหารในเด็กแต่ละวัย(ต่อ) วัยเด็ก (childhood) &วัยรุ่น (adolescence) โตช้ากว่า Infant Activity แต่ละช่วงอายุต้องการสารอาหารต่างกัน 30/06/62

childhood& adolescence (ต่อ) พลังงานและโปรตีน สำนักโภชนาการ, 2546 30/06/62

childhood& adolescence (ต่อ) วิตามินและเกลือแร่ อายุ (ปี) BW (kg) Vitamin A (µm/day) Vitamin C (mg/day) Vitamin E Calcium Iodine Iron Zinc เด็ก 1-3 ปี 13 400 40 6 500 90 2 4-5 ปี 18 450 7 800 8 3 6-8 ปี 23 120 10 4 วัยรุ่น ชาย 9-12 ปี 33 600 45 11 1,000 15 5 13-15 ปี 49 75 150 16-18 ปี 57 700 9 หญิง 9-12 ปี 34 24 46 65 48 สำนักโภชนาการ, 2546 30/06/62

childhood& adolescence (ต่อ) คาร์โบไฮเดรต ร้อยละ 55-65 ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับต่อวัน Sugar < ร้อยละ 25 ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับต่อวัน 30/06/62

childhood& adolescence (ต่อ) ไขมัน 1-3 ปีร้อยละ 30-40 ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับต่อวัน 4-18 ปีร้อยละ 25-35 ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับต่อวัน 30/06/62

การส่งเสริมโภชนาการในเด็ก/อาหารเสริมในเด็กแต่ละวัย 6 เดือนแรก นมอย่างเดียวโดยไม่ต้องให้อย่างอื่นร่วม แรกเกิด – 1เดือน ให้ทุก 2-3 ชม./วัน (8-10มื้อ/วัน) 2-3 เดือน ให้ทุก 3-4 ชม./วัน เริ่มเว้นมื้อดึก 1 มื้อ (6-8มื้อ/วัน) 4-6 เดือน ให้ทุก 3-4 ชม./วัน เว้นมื้อดึก 1-2 มื้อ (4-6 มื้อ/วัน) 30/06/62

การส่งเสริมโภชนาการในเด็ก/อาหารเสริมในเด็กแต่ละวัย(ต่อ) 6 เดือน เสริมอาหารแทนนม 1มื้อ 8-9 เดือน เสริมอาหารแทนนม 2 มื้อ 10-12 เดือน เสริมอาหารแทนนม 3 มื้อ 12 เดือน อาหาร 3 มื้อ (หลัก) + นม /อาหารว่าง (เสริม) 2 มื้อ /วัน 30/06/62

การส่งเสริมโภชนาการในเด็ก/อาหารเสริมในเด็กแต่ละวัย(ต่อ) ควรให้อาหารเสริมอย่างไร.................. 30/06/62

หลักการให้อาหารเสริม 30/06/62 หลักการให้อาหารเสริม เริ่มทีละชนิด เพื่อสังเกตการแพ้อาหาร แต่ละชนิดเว้นระยะอย่างน้อย 1 wk ควรเริ่มไข่ขาว และอาหารทะเลหลัง 1 ปี เหลว ข้น หยาบ 30/06/62

ประเมินด้านร่างกาย การประเมินด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ Nutrition assessment ประเมินด้านร่างกาย การประเมินด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ 30/06/62

1.1 ซักประวัติ 1.2 ตรวจร่างกาย 1.3 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 1.ประเมินด้านร่างกาย 1.1 ซักประวัติ 1.2 ตรวจร่างกาย 1.3 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 30/06/62

1.1 ซักประวัติ Family history การเจ็บป่วย, แบบแผนการกิน, การดูแลสุภาพ การพักผ่อนของ คค. Patient-health history ก่อนและแรกคลอด, การ ปป. BW+แนวโน้ม, การเจ็บป่วย 30/06/62

General appearance ตรวจตามระบบ วัดการเจริญเติบโต 1.2 ตรวจร่างกาย General appearance ตรวจตามระบบ วัดการเจริญเติบโต 30/06/62

1.2 ตรวจร่างกาย General appearance ตรวจตามระบบ Skin: แห้งหยาบ, อักเสบ, Poor skin turgor บวม, ไวต่อแสง, ซีด Hair: แห้งหยาบ, บาง, เปราะ, สีไม่สม่ำเสมอ, Alopecia (ผมร่วง) Head: กะโหลกแบน ,Fontanel ปิดช้า (หลัง2-3m,หน้า18m) Neck: ไทรอยด์โต Eye: ตามัว เยื่อบุตาขาวซีด, จุดขาว, ตาแห้ง,night blindness 30/06/62

1.2 ตรวจร่างกาย/ตรวจตามระบบ (ต่อ) Mouth: ริมฝีปากบวม, เป็นแผลที่มุมปาก Tongue: บวม มีร่องแตก, เลี่ยน,ซีด, รับรู้รสไม่ดี Gum: บวมแดง, เลือดออกง่าย, เหงือกร่น Teeth: ผุ, กร่อน Face: moon face Heart: tachycardia, cardiomegaly, arrhythmia, BP สูง-ต่ำ GI: ท้องผูก, ท้องเสีย, ท้องป่อง, ตับโต M&S: กน.ลีบ, knock-knee(เข่าชนกัน), เลือดออกในข้อ Neuro: ตะคริว, ชัก, รีเฟล็กซ์ผิดปกติ 30/06/62

1.2 ตรวจร่างกาย/วัดการเจริญเติบโต (ต่อ) Weight for age High for age Weight for high Head circumference Chest circumference 30/06/62

1.3 ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจเลือด CBC,BUN, Cr, E’lyte, Ca, mg, phosphate, Zinc, alcalinephosphase ฯลฯ การตรวจทางรังสี 30/06/62

2. การประเมินด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ การรับรู้ความคิดและเชาว์ปัญญา อัตมโนทัศน์ ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม Stress& coping ระบบการช่วยเหลือและสนับสนุน ความเชื่อและศรัทธา อิทธิพลอาวุโส แหล่งที่พึ่งทางใจ นิสัยการบริโภค 30/06/62

30/06/62

โภชนาการเกิน ขาดสารอาหาร ปัญหาโภชนาการในเด็ก โภชนาการเกิน ขาดสารอาหาร 30/06/62

BW/age > เกณฑ์ BW/Ht > เกณฑ์ โภชนาการเกิน BW/age > เกณฑ์ BW/Ht > เกณฑ์ Overweight Obesity 30/06/62

ขาดสารอาหาร ขาดพลังงานและโปรตีน ขาดวิตามินและแร่ธาตุ Marasmus Kwashiorkor ขาดวิตามินและแร่ธาตุ Iron Deficiency Vitamin Deficiency: A, B1, B2 30/06/62

ขาดพลังงานและโปรตีน Marasmus 30/06/62

ไม่มีอาการบวม และตับไม่โต อายุต่ำกว่า 1 ปี หย่านมไว Marasmus ไม่มีอาการบวม และตับไม่โต อายุต่ำกว่า 1 ปี หย่านมไว เลี้ยงดูด้วยอาหารที่ไม่มีคุณค่าเช่น นมข้นหวาน หรือผสมแบบเจือจาง 30/06/62

ขาดพลังงานและโปรตีน(ต่อ) Kwashiorkor 30/06/62

Kwashiorkor มีการขาดโปรตีนอย่างมาก บวม เห็นได้ชัดที่ขา 2 ข้าง เส้นผมเปราะและหลุดร่วงง่าย สีเปลี่ยน หัวแดง ผิวหนังบางลอกหลุดง่าย แผลหายช้า ตับโต ซึมและดูเศร้า ไม่สนใจ สวล. 30/06/62

ขาดพลังงานและโปรตีน 30/06/62

ขาดวิตามินและแร่ธาตุ Iron Deficiency เป็นส่วนประกอบของเม็ดเลือดแดง ซีด โลหิตจาง สาเหตุ ไม่กินเนื้อสัตว์ กินนมมากเกินไป อาการ ซีด ผลเลือด (CBC) ผิดปกติ ลิ้นเลี่ยน อาหาร : เลือด เครื่องใน ผักใบเขียวแก่ ปลายข้าว ถั่ว ข้าวซ้อมมือ ข้าวกล้อง 30/06/62

ไข่แดง นม ตับสัตว์ ผักใบเขียว แคโรทีน ฟักทอง Vitamin Deficiency Vit A ตาฟาง Night blindness เยื่อบุตาขาวแห้ง กระจกตาเป็นแผล จุดเทาๆบนตาขาวด้านหางตา ( Bilot’spot) ไข่แดง นม ตับสัตว์ ผักใบเขียว แคโรทีน ฟักทอง 30/06/62

Vitamin Deficiency Vit B1 beri- beri เบื่ออาหาร กล้ามเนื้ออ่อนแรง ขาบวม เหน็บชา ใจสั่น ไข่แดง ตับ เนื้อหมู ข้าวซ้อมมือ ถั่ว งา 30/06/62

Vitamin Deficiency Vit B2 แผลมุมปาก (ปากนกกระจอก ) ลิ้น / ผิวหนังอักเสบ ตาไม่สู้แสงน้ำตาไหล เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ ถั่ว นม ผักใบเขียว 30/06/62

สถานการณ์ มารดาของเด็กอายุ 1 ปี 6 เดือน ให้ประวัติว่าบุตรไม่ค่อยรับประทานอาหาร ชอบดื่มนมอย่างเดียว ตรวจร่างกายพบเยื่อบุตาซีด ตรวจ CBC พบ MCV 60 fl, Hemoglobin 8.6 mg/dl, Hct 28% 30/06/62

Malnutrition(73) Obesity (84) Nursing Diagnosis Malnutrition(73) Obesity (84) 30/06/62

Evaluation ติดตาม clinical sign Growth chart (Ht/age, BW/age,BW/Ht) 30/06/62

Immunization 30/06/62

ประเภทของวัคซีน Toxoid ผลิตจากพิษของเชื้อที่ทำให้พิษหมดไป เช่น Diphtheria, Tetanus Killed vaccine ผลิตจากเชื้อโรคโดยตรง อาจใช้ทั้งตัวหรือบางส่วนของเชื้อ เช่น Pertussis vaccine, Hepatitis B vaccine, Live vaccine ผลิตจากเชื้อที่ถูกทำให้อ่อนฤทธิ์ เช่น BCG, OPV, MMR, Japanese encephalitis vaccine 30/06/62

30/06/62

ตารางการให้วัคซีนของไทย (วัคซีนจำเป็น) BCG ห้ามฉีดในผู้ที่แพ้ยา, มีแผลติดเชื้อ ไฟไหม้บริเวณที่ฉีด, pt HIV และเด็กที่มีไข้ 30/06/62

ตารางการให้วัคซีนของไทย(วัคซีนจำเป็น) (ต่อ) Hepatitis B vaccine (HBV) 30/06/62

ตารางการให้วัคซีนของไทย(วัคซีนจำเป็น) (ต่อ) Diphtheria Tetanus-whole cell Pertussis vaccine (DTwP) 30/06/62

ตารางการให้วัคซีนของไทย(วัคซีนจำเป็น) (ต่อ) Oral Polio Vaccine (OPV) 30/06/62

ตารางการให้วัคซีนของไทย(วัคซีนจำเป็น) (ต่อ) Measles Mumps Rubella Vaccine (MMR) 30/06/62

ตารางการให้วัคซีนของไทย(วัคซีนจำเป็น) (ต่อ) Japanese encephalitis (JEV) 30/06/62

ตารางการให้วัคซีนของไทย (วัคซีนทางเลือก/วัคซีนทดแทน) Varicella vaccine, VAR: วัคซีนป้องกันสุกใส Live vaccine 1- 12 ปี ฉีด 1 ครั้ง 13 ปี และผู้ใหญ่ฉีด 2 ครั้ง ห่างกัน 4 – 8 สัปดาห์ ข้อบ่งใช้: ไม่เคยเป็น เสี่ยงเป็นโรคหรืออยู่ใกล้คนที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง บุคลากร ทางการแพทย์ หญิงวัยเจริญพันธ์ ข้อห้าม: ไข้สูง ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ได้ยากดภูมิ ตั้งครรภ์ ได้รับ IVIG แพ้ยา 30/06/62

ตารางการให้วัคซีนของไทย (วัคซีนทางเลือก/วัคซีนทดแทน) Hemophilus influenza type B vaccine, Hib: วัคซีนป้องกัน โรคเยื้อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อ Hib Killed vaccine ให้เมื่ออายุ 2,4,6 เดือน ข้อบ่งใช้: เสี่ยงสูง สถานเลี้ยงเด็ก ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ม้ามผิดปกติ ข้อห้าม: แพ้ 30/06/62

ตารางการให้วัคซีนของไทย (วัคซีนทางเลือก/วัคซีนทดแทน) Rota vaccine IPV vaccine DTaP vaccine Influenza vaccine 30/06/62

หลักการทั่วไปในการให้วัคซีน การมารับวัคซีนไม่ตรงกำหนด ให้ฉีดเข็มที่ยังขาดทันทีและนัดเข็มต่อไปได้เลยตามระยะเวลา ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ ระยะห่างระหว่างวัคซีน หากให้ไม่พร้อมกัน หากเว้นระยะห่างไม่เหมาะสมจะทำให้ภูมิคุ้มกันขึ้นไม่ดี 30/06/62

หลักการทั่วไปในการให้วัคซีน (ต่อ) ห้าม ฉีดสะโพก อาจไม่เข้ากล้ามเนื้อ, เป็นฝีได้ง่าย และอาจเป็นอันตรายหรือบวมไปกดเส้นประสาท Sciatic ได้ ภูมิคุ้มกันต่อ HBV ขึ้นไม่ดี กรณีฉีด BCG อาจติดเชื้อซ้ำได้ง่าย ทารกคลอดก่อนกำหนด ให้วัคซีนเหมือนทารกครบกำหนด ยกเว้น HBV ให้ฉีดเมื่อทารกมี BW > 2000 gm ทารกจะตอบสนองต่อวัคซีนได้ดีกว่า 30/06/62

หลักการทั่วไปในการให้วัคซีน (ต่อ) ห้ามให้ Live vaccine ได้รับอิมมูโนโกลบูลิน พลาสมาหรือเลือดมาไม่ถึง 3 เดือน หากได้รับอิมมูโนโกลบูลินขนาดสูงต้องเลื่อนไปอีก 5-11 เดือน แต่กิน OPV ได้ ได้รับรังสีรักษา/เคมีบาบัด ได้ถ้ารับยากดภูมิคุ้มกัน (มากกว่า 2 mg/kg/day นานมากกว่า 2 week) และหยุดยามาไม่ถึง 3 เดือน ผู้ทีอยู่บ้านเดียวกับผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ไม่ควรได้รับ OPV 30/06/62

หลักการทั่วไปในการให้วัคซีน (ต่อ) เด็กที่ติดเชื้อ HIV/AIDS (CD4 > 15%) สามารถได้รับวัคซีนเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ได้ทุกชนิด - วัคซีนสุกใสต้อง CD4 > 25% - ให้ OPV หรือ IPV ได้ - ถ้ามีอาการงดให้ BCG ผู้ที่มีประวัติแพ้ไข่ขาว หรือเคยแพ้รุนแรงควรรับวัคซีนภายใต้การดูแลของแพทย์ เด็กที่มีไข้ควรเลื่อนออกไปก่อน 30/06/62

หลักการทั่วไปในการให้วัคซีน (ต่อ) ในรายที่มารดา HBsAg positive ให้ hepatitis B immune globulin (HBIG) ภายใน 12 ชม. ร่วมกับให้ HBV1 และ เริ่ม HBV2 เมื่ออายุ 1เดือน HBV3 เมื่ออายุ 6 เดือน 30/06/62

สังเกตอาการก่อนให้วัคซีน •สังเกตลักษณะทั่วไป ท่าทางการตอบสนองของเด็ก การบริหารวัคซีน สังเกตอาการก่อนให้วัคซีน •สังเกตลักษณะทั่วไป ท่าทางการตอบสนองของเด็ก •สังเกตรอยที่ฉีดวัคซีนครั้งที่แล้ว •ตรวจร่างกายเพื่อยืนยันความพร้อมในการรับวัคซีน •การสังเกตความพร้อมทางจิตใจและอารมณ์ของเด็ก และผู้ปกครอง 30/06/62

• ฉีดชั้นในหนัง intradermal • ฉีดชั้นใต้ผิวหนัง subcutaneous ขณะให้วัคซีน •การจัดท่าเด็ก •วิธีการให้วัคซีน • Oral • ฉีดชั้นในหนัง intradermal • ฉีดชั้นใต้ผิวหนัง subcutaneous • ฉีดชั้นกล้ามเนื้อ intramuscular 30/06/62

สถาบันวัคซีนแห่งชาติ,2559 การจัดท่าเด็ก สถาบันวัคซีนแห่งชาติ,2559 30/06/62

Oral หยดใส่ปากของเด็ก จำนวน 2 -3 หยด (Oral Polio Vaccine: OPV) วิธีการให้วัคซีน Oral หยดใส่ปากของเด็ก จำนวน 2 -3 หยด (Oral Polio Vaccine: OPV) สถาบันวัคซีนแห่งชาติ,2559 30/06/62

Injection Intradermal ได้แก่ Bacillus Calmette Guerin (BCG) ฉีดบริเวณหัวไหล่ด้านซ้าย เช็ดผิวหนังด้วยนำต้มสุกที่เย็นแล้ว (ห้ามใช้น้ำยา Anti septic) เตรียมยาขนาด 0.1 ml ตึงผิวหนังให้ตึงถือ syring วางเกือบขนานกับผิวหนังให้หน้าตัดของเข็มหงายขึ้น ทำมุม 5-15 องศา แทงเข็มลึก 2 มม. หรือพ้นหน้าตัดปลายเข็ม เดินยาตำแหน่งบริเวณที่ฉีดจะโป่ง ขึ้นขนาดเท่าเม็ดถั่วเขียว หลังฉีดห้ามกด หรือคลึง สถาบันวัคซีนแห่งชาติ,2559 30/06/62

Injection (ต่อ) Subcutaneous ได้แก่ MMR, JEV นิยมใช้เข็มเบอร์ 27 ยาว ½ นิ้ว Intramuscular ได้แก่ DTwP, HBV นิยมใช้เข็มเบอร์ 25 ยาว 1 นิ้ว เด็กเล็กฉีดหน้าขาโดย แบ่งความยาวของต้นขาจาก greater trochanter ถึง patella เป็น 3 ส่วน ฉีดส่วนที่ 2 กล้ามเนื้อบริเวณนี้มี 2 มัด คือ ต้นขาด้านข้าง ( vastus lateralis site ) ต้นขาด้านหน้า ( rectus femoris site ) สถาบันวัคซีนแห่งชาติ,2559 30/06/62

ลงบันทึกในสมุดวัคซีน 30/06/62

การให้คำแนะนำหลังได้รับภูมิคุ้มกันโรค 1.ไม่สัมผัส กด คลึง นวด หรือใช้ยาทาบริเวณที่ฉีด 2.สังเกตอาการผิดปกติ : อาการปวด บวม แดง ร้อน หรืออาการผิดปกติอื่น เช่น มีเลือดออก มีตุ่มหนอง มีไข้สูงมาก ให้รีบมาพบแพทย์ 3.ให้การดูแลรักษาตามอาการ 3.1 มีอาการปวด บวม แดง ร้อน : ประคบเย็น เพื่อลดอาการปวดหรือรับประทานยาลดไข้ 3.2 มีไข้ : เช็ดตัวลดไข้ รับประทานยาลดไข้ 30/06/62

คุณปู่พาหลานอายุ 6 เดือนมาฉีดวัคซีน เด็กรายนี้เคย สถานการณ์ที่ 1 คุณปู่พาหลานอายุ 6 เดือนมาฉีดวัคซีน เด็กรายนี้เคย มีอาการผิดปกติหลังได้วัคซีนครั้งที่แล้ว คือมีอาการชักและ เป็นฝีมีหนองที่ต้นขาขวา 30/06/62

สถานการณ์ที่ 2 เด็กนักเรียนชั้น ป.1 รับวัคซีนที่โรงเรียน เพิ่งออกจากโรงพยาบาลเมื่อเดือนที่แล้วเป็นโรคไตเนฟโฟรติก ได้ยากดภูมิมากินต่อเนื่องที่บ้าน (ประวัติยังไม่ได้รับ MMR เข็มที่ 2) 30/06/62

วันนี้เด็กนักเรียนชั้น ป.6 รับวัคซีนที่โรงเรียน มีโรคประจาตัว สถานการณ์ที่ 3 วันนี้เด็กนักเรียนชั้น ป.6 รับวัคซีนที่โรงเรียน มีโรคประจาตัว เป็นโรคเลือดธาสัสซีเมีย ไม่สบายและซีดบ่อย ได้รับเลือดครั้งสุดท้ายเมื่อ 4 ม.ค.61 30/06/62

คุณแม่พาบุตรคนเล็กวัย 6 เดือนมารับวัคซีน ให้ประวัติว่า สถานการณ์ที่ 4 คุณแม่พาบุตรคนเล็กวัย 6 เดือนมารับวัคซีน ให้ประวัติว่า สัปดาห์ที่ผ่านมาไม่สบาย พาไปหาหมอที่คลินิกได้ยาฆ่าเชื้อ มารับประทาน ไม่ค่อยได้มาฉีดวัคซีนตามนัด ครั้งสุดท้ายฉีดเมื่ออายุ 2 เดือน 30/06/62

Reference พรทิพย์ ศิริบูรณ์พิพัฒนาและคณะ. (2555). การพยาบาลเด็กเล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ธนาเพรส. สำนักโภชนาการ. (2546). ปริมาณสารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. เข้าถึงเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2558, จาก http://nutrition.anamai.moph.go.th/temp/main/view.php?group=2&id=132. Holden, C., & Macdonald, A. (2000). Nutrition and Child Health. (1st ed.). London, United Kingdom. World Health Organization. (2015). Health promotion. Retrieved February 18, 2015, from http://www.who.int/topics/health_promotion/en/. National Institutes of Health. (2005). Nutrient Recommendations: Dietary Reference Intakes (DRI). Retrieved February 19, 2015, from http://books.nap.edu/openbook.php?record_id=10490&page=5. Tinning, K., & Acworth, J.(2007) Make your Best Guess: an updated method for pediatric weight estimation in emergencies. Emerg Med Australas. Dec;19(6):528-34. Retrieved February 21, 2016,from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18021105 Graves, L., Chayen, G., Peat, J., &O'Leary, F. (2014).A comparison of actual to estimated weights in Australian children attending a tertiary children's' hospital, using the original and updated APLS, Luscombe and Owens, Best Guess formulae and the Broselow tape. Resuscitation Volume 85, Issue 3, March, Pages 392–396. Retrieved February 22, 2016,from http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0300957213008873. 30/06/62

Reference สถาบันวัคซีนแห่งชาติ. (2559). เอกสารประกอบ การอบรมหลักสูตรเชิงปฏิบัติการสำหรับเจ้าหน้าที่สร้าง เสริม ภูมิคุ้มกันโรค 2559. เข้าถึงเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2558, จาก http://www.nvi.go.th/index.php/blog/category/Media01 30/06/62

1.เด็กหญิง น้ำหนัก 30 กิโลกรัม ต้องการพลังงานวันละ 1,800 Kcal/day 3. ควรเริ่มให้อาหารเสริมแก่ทารกควรเริ่มเมื่ออายุ 4-6 เดือนโดยเริ่มให้ข้าวบด ผักบดทีละชนิดห่างกัน 7 วัน 4.การชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูงของเด็กสามารถใช้ประเมินภาวะโภชนาการของเด็กได้เลย 5. เด็กที่มีภาวะ Iron Deficiency ควรให้กินอาหารที่มีพลังงานสูง เช่น ตับ เครืองในสัตว์ 30/06/62

6. วัคซีน JE, MMR ต้องฉีดเข้าในชั้นผิวหนัง (Intradermal) 7.หลังฉีดวัคซีน BCG จะอาจเกิดตุ่มหนองบริเวณที่ฉีดประมาณ 2 สัปดาห์ให้ใช้น้ำต้มสุกเช็ดทำความสะอาด ห้ามแกะหรือบีบหนองออก 8. ทารกอายุ 4 เดือนต้องได้รับวัคซีน OPV2, DTP-HB2, IPV 9.เด็กทารกแรกเกิดที่เป็นโรค HIV ที่ไม่แสดงอาการสามารถรับวัคซีนได้เหมือนเด็กปกติ 10. ถ้าเด็กมารับวัคซีนเลยวันนัดต้องเริ่มฉีดวัคซีนใหม่ทั้งหมด 30/06/62