การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ขอบเขตของการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
7 กิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้. วัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สืบเนื่องจากที่หน่วยงานต่าง ๆ ได้ ใช้ระบบมาแล้วระยะหนึ่ง และศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การกำหนด คุณลักษณะครุภัณฑ์ นาตอนงค์ จันทร์แจ่มแจ้ง นักวิชาการพัสดุชำนาญการพิเศษ.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การสร้างสรรค์และผลิตเครื่องมือการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร 1
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
ระบบบริหารข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ITAM)
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
SMS News Distribute Service
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
นางสาวรตยา พนมวัน ณ อยุธยา นางสาววิไลลักษณ์ ดวงบุปผา
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ 1. ความหมาย 2.ความสำคัญ -ความสำคัญต่อการให้บริการ

- ความสำคัญต่อห้องสมุด -ความสำคัญต่อบุคลากรห้องสมุด - ความสำคัญต่อห้องสมุด 3. ลักษณะของการอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ 3.1 การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ 1. การวางแผนและการกำหนดนโยบายการอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากร สารสนเทศ 2. การเตรียมการก่อนการอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ 3. การดำเนินการภายหลังการอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ

การอนุรักษ์และสงวนรักษาสื่อโสตทัศน์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หน้า93 1. การเตรียมการก่อนการอนุรักษ์และสงวนรักษาสื่อโสตทัศน์และ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 2 .การดำเนินการภายหลังการอนุรักษ์และสงวนรักษาสื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

การคัดออกและการประเมินทรัพยากรสารสนเทศ 1. ความหมายของการคัดออกทรัพยากรสารสนเทศ 2. ความสำคัญของการคัดออกทรัพยากรสารสนเทศ 2.1 ด้านคุณภาพของทรัพยากรสารสนเทศ 2.2 ด้านผู้ใช้บริการ 2.3 ด้านผู้ปฏิบัติงานการจัดหาและจัดให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ 2.4 ด้านการจัดการห้องสมุดและความสำเร็จของการบริการห้องสมุด

3.1 การคัดออกเพื่อไปจัดเก็บในสถานที่อื่น ที่ยังนำกลับมาใช้ได้อีก 3. ลักษณะของการคัดออกทรัพยากรสารสนเทศ 3.1 การคัดออกเพื่อไปจัดเก็บในสถานที่อื่น ที่ยังนำกลับมาใช้ได้อีก -จัดเก็บนอกพื้นที่บริการแต่อยู่ภายในอาคารของห้องสมุด -จัดเก็บภายนอกห้องสมุด 3.2 การคัดออกเพื่อจำหน่ายออกไปจากห้องสมุด - ขาย โดยวิธีการทอดตลาดก่อน -โอนหรือบริจาคให้แก่หน่วยราชการ ห้องสมุดอื่นๆหรือองค์การสาธารณกุศลที่ต้องการ - แลกเปลี่ยนกับห้องสมุดอื่นๆที่ต้องการ

-ทำลาย สำหรับทรัพยากรสารสนเทศที่ชำรุดมากเกินกว่าจะซ่อมแซมได้ -แปรสภาพหรือแปลงสารสนเทศไปจัดเก็บในสื่อประเภทอื่น -ทำลาย สำหรับทรัพยากรสารสนเทศที่ชำรุดมากเกินกว่าจะซ่อมแซมได้ เกณฑ์การคัดออกทรัพยากรสารสนเทศ 1. เกณฑ์เบื้องต้นในการคัดออกทรัพยากรสารสนเทศ 1.1 สภาพของทรัพยากรสารสนเทศ 1.2 เนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ 1.3 การใช้ทรัพยากรสารสนเทศ 1.4 จำนวนฉบับซ้ำของทรัพยากรสารสนเทศ

2.1 เกณฑ์การคัดออกหนังสือเพื่อจัดเก็บในสถานที่อื่น 2. เกณฑ์การคัดออกหนังสือ 2.1 เกณฑ์การคัดออกหนังสือเพื่อจัดเก็บในสถานที่อื่น - เกณฑ์ด้านการใช้หนังสือ - เกณฑ์ด้านเนื้อหาของหนังสือ 2.2 เกณฑ์การคัดออกหนังสือเพื่อจำหน่ายออกไปจากห้องสมุด - เกณฑ์ด้านสภาพ/ลักษณะทางกายภาพของหนังสือ -เกณฑ์ด้านเนื้อหาของหนังสือ -เกณฑ์ด้านการใช้หนังสือ - เกณฑ์ด้านจำนวนฉบับซ้ำของหนังสือ - เกณฑ์ด้านอื่นๆ เช่นหนังสือมีอายุเกิน 20 ปี ฯลฯ

- วารสารที่ไม่มีดรรชนีวารสาร -สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องที่ออกไม่สม่ำเสมอ 3. เกณฑ์การคัดออกวารสารและหนังสือพิมพ์ - วารสารที่ไม่มีดรรชนีวารสาร -สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องที่ออกไม่สม่ำเสมอ - สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องที่มีไม่ครบชุด 4. เกณฑ์การคัดออกสื่อโสตทัศน์ - ใช้เทคโนโลยีล้าสมัย เช่นเทปวีดิทัศน์แบบยู-เมติก - หมดอายุการใช้งาน - เสื่อมสภาพเป็นเชื้อรา - มีรอยขูดขีด - แถบวีดิทัศน์เสื่อมคุณภาพจนไม่สามารถใช้งานได้

- โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีคู่มือการใช้งานและมีอายุมากกว่า 7 ปี 5. เกณฑ์การคัดออกสื่อโสตทัศน์ - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีคู่มือการใช้งานและมีอายุมากกว่า 7 ปี - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ล้าสมัย มีเวอร์ชันใหม่มาแทนที่แล้ว ขั้นตอนการดำเนินงานการคัดออกทรัพยากรสารสนเทศ มี 3 ขั้นตอน 1. ขั้นตอนการวางแผนและเตรียมการเพื่อการคัดออกทรัพยากรสารสนเทศ 1.1 ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรสารสนเทศกลุ่มต่างๆของห้องสมุด

- กำหนดประเภทของทรัพยากรสารสนเทศที่จะคัดออก 1.2 กำหนดนโยบายการคัดออกทรัพยากรสารสนเทศกลุ่มต่างๆของ ห้องสมุด - กำหนดประเภทของทรัพยากรสารสนเทศที่จะคัดออก -กำหนดระยะเวลาการดำเนินงานของการคัดออก -กำหนดบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน -กำหนดเกณฑ์การคัดออกทรัพยากรสารสนเทศ 1.3 การวางแผนการดำเนินงานการคัดออกทรัพยากรสารสนเทศ

- สำรวจทรัพยากรสารสนเทศและพื้นที่บริการ 1.4 การเตรียมการดำเนินงานการคัดออกทรัพยากรสารสนเทศ - สำรวจทรัพยากรสารสนเทศและพื้นที่บริการ - สำรวจและจัดหาพื้นที่อื่นนอกพื้นที่บริการ - ศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้บริการที่มีต่อการคัดออกทรัพยากร สารสนเทศ 1.5 ฝึกอบรมบุคลากรผู้ปฏิบัติการงานการคัดออก

1.1 ประเมินทรัพยากรสารสนเทศแต่ละรายการตามเกณฑ์ที่กำหนด 1. ขั้นตอนการพิจารณาและดำเนินการคัดออกทรัพยากรสารสนเทศ 1.1 ประเมินทรัพยากรสารสนเทศแต่ละรายการตามเกณฑ์ที่กำหนด 1.2 แยกทรัพยากรห้องสมุดที่ถูกคัดออกและทำสัญลักษณ์ที่ตัว ทรัพยากรสารสนเทศ 1.3 ปรับปรุงสถานภาพของข้อมูลในทะเบียนทรัพยากรสารสนเทศ และในฐานข้อมูลรายการทรัพยากรสารสนเทศ

2.1 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศที่คัดออกเพื่อจัดเก็บในสถานที่อื่น 2. ขั้นตอนการจัดการทรัพยากรสารสนเทศที่คัดออก หน้า 124 2.1 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศที่คัดออกเพื่อจัดเก็บในสถานที่อื่น - ทรัพยากรสารสนเทศที่ย้ายเปลี่ยนกลุ่ม -ทรัพยากรห้องสมุดที่จัดเก็บในชั้นปิด 2.2 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศที่จำหน่ายออกจากห้องสมุด - การกำหนดวิธีจำหน่ายออก - การขอความเห็นชอบในการจำหน่ายออก -การถอนตัวออกตัวทรัพยากรห้องสมุดและหลักฐานของทรัพยากรสารสนเทศ

การประเมินทรัพยากรสารสนเทศ - การดำเนินการจำหน่ายออกตามวิธีการที่กำหนด การประเมินทรัพยากรสารสนเทศ 1. ความหมายและความสำคัญของการประเมินทรัพยากรสารสนเทศ 1.1 ความหมายของการประเมินทรัพยากรสารสนเทศ 1.2 ความสำคัญของการประเมินทรัพยากรสารสนเทศ 1.2.1 ความสำคัญต่อห้องสมุด 1.2.2 ความสำคัญต่อผู้ใช้บริการ

1.2.3 ความสำคัญต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับห้องสมุด -ความสำคัญต่อหน่วยงานต้นสังกัด -ความสำคัญต่อหน่วยงานภายนอก 2. กระบวนการประเมินทรัพยากรสารสนเทศ หน้า 128 2.1 การวางแผนและเตรียมการเพื่อการประเมิน 2.2 การระบุความเป็นมาของการประเมินทรัพยากรสารสนเทศ 2.3 การกำหนดและระบุวัตถุประสงค์ของการประเมิน 2.4 การกำหนดขอบเขตของการประเมิน 2.5 การเลือกวิธีการประเมินทรัพยากรสารสนเทศ

3. การดำเนินการประเมินทรัพยากรสารสนเทศ 3 3. การดำเนินการประเมินทรัพยากรสารสนเทศ 3.1 การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรสารสนเทศ - แหล่งบุคคล -หลักฐานแสดงการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ - ข้อมูลสถิติอื่นๆที่เกี่ยวกับทรัพยากรห้องสมุด 3.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรสารสนเทศที่รวบรวมได้ 3.3 การประมวลผลออกเป็นรายงาน

4. การนำผลการประเมินมาใช้ วิธีประเมินทรัพยากรสารสนเทศ แบ่งเป็น 2 วิธี 1. วิธีการประเมินที่พิจารณาจากทรัพยากรสารสนเทศ 1.1 การประเมินโดยวิเคราะห์สถิติ - การประเมินสถิติทรัพยากรสารสนเทศที่มีทั้งหมด -การประเมินสถิติการเพิ่มทรัพยากรสารสนเทศ 1.2 การประเมินตามรายชื่อ - รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่มีการจัดทำเผยแพร่

- รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่รวบรวมขึ้นเอง 1 - รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่รวบรวมขึ้นเอง 1.3 การประเมินโดยผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ 2. วิธีการประเมินที่พิจารณาจากผู้ใช้บริการและการใช้ 2.1 การศึกษาการใช้ - ทรัพยากรสารสนเทศที่มีการใช้มาก - ทรัพยากรห้องสมุดมีการใช้น้อยหรือไม่มีการใช้เลย - รูปแบบการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ - ผู้ใช้บริการทรัพยากรสารสนเทศคือใครบ้าง

2.3 การศึกษาการใช้ทรัพยากรสารสนเทศภายในห้องสมุด 2.2 การศึกษาการยืมออก 2.3 การศึกษาการใช้ทรัพยากรสารสนเทศภายในห้องสมุด 2.4 การศึกษาการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่มีในห้องสมุด 2.5 การสำรวจทรรศนะของผู้ใช้บริการ 2.6 การทดสอบการพบทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ

2.6.1 การทดสอบการพบทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการในห้องสมุดเมื่อมีผู้ ต้องการ - รวบรวมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศกลุ่มที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการ ทดสอบ - ทดสอบการค้นพบและเข้าถึงทรัพยากรฯแต่ละรายชื่อ - คำนวณหาค่าความเร็วในการค้นสำหรับเวลาที่ใช้ในการค้นหาทุกรายชื่อ - คำนวณหาค่าความเร็วเฉลี่ย - คำนวณหาดรรชนีความสามารถ

2.7 การศึกษาการอ้างถึง มีขั้นตอนดังนี้ 2.6.2 การทดสอบการพบทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการบนชั้น ใช้การสำรวจด้วย แบบสอบถามปลายเปิด 2.7 การศึกษาการอ้างถึง มีขั้นตอนดังนี้ 2.7.1 เลือกงานเขียนที่จะนำมาวิเคราะห์ 2.7.2 เลือกสุ่มรายการอ้างอิง 2.7.3 วิเคราะห์ว่ารายการอ้างถึงที่สุ่มมานั้นเป็นเอกสารประเภทใด สาขาวิชาใด ภาษาใด ปีพิมพ์ใด ความถี่ที่ได้รับการอ้างถึงของแต่ละรายการ 2.7.4 รวบรวมข้อมูลที่ได้และจัดอันดับหรือหาค่าร้อยละ 2.7.5 ตรวจสอบรายการที่ได้รับการอ้างถึงนั้นๆว่ามีอยู่ในห้อสมุดจำนวนเท่าใด

จบค่ะ