โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
2 ลำดับจังหวัดกล้องแผนงาน 15- มิ. ย.30- มิ. ย. ร้อยละเพิ่มขึ้น 1 นครสวรรค์ *** 2 8,6005,8067, , อุบลราชธานี *** 3 12,9004,2295, ,
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
แผนงานสำรวจรังวัดแปลงเกษตรกรรมและปิดพื้นที่ ปีงบประมาณ 2557 ภาค / จังหวัด ช่าง สำรวจ จว. จำนวน กล้อง จว. แผนปิดอำเภอ ปี 57 ( ไร่ ) แผนรังวัด เกษตร ( ไร่
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การสำรวจสถานการณ์ระดับสติปัญญา เด็กนักเรียนไทย ปี 2554
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
แนวทางการดำเนินงานและแลกเปลี่ยน สู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ 2559 กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดย คุณณัฐธิวรรณ พันธุ์มุง วันอังคารที่ 20 ตุลาคม 2558 ณ ห้องประชุม.
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
การถ่ายทอดตัวชี้วัด เป้าหมาย เพื่อลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ผังพื้นที่สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1-10
นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (CBI NCDs) ปี 2561 วันที่ 16-17 มกราคม 2561

ปัจจัยเสี่ยงและโรค กลุ่มโรค NCDs, 4 การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา และ 4 ปัจจัยเสี่ยงทางพฤติกรรม

แผนภูมิเปรียบเทียบความชุกของพฤติกรรมเสี่ยง และปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล ที่มา:การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ.2557

อัตราตายต่อประชากร 100,000 คน ด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง อัตราตายต่อประชากร 100,000 คน ด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง ปี 2555-2559 (รวมกรุงเทพมหานคร) ที่มา : กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. สถิติการสาธารณสุข พ.ศ. 2559. นนทบุรี

อัตราผู้ป่วยในต่อประชากร 100,000 คนด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง อัตราผู้ป่วยในต่อประชากร 100,000 คนด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง ปี 2554-2558 (รวม กรุงเทพมหานคร) ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สถิติการสาธารณสุข พ.ศ. 2554-2558

หลักการและเหตุผล ในปี 61 ดำเนินงานในจังหวัดที่มีการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ที่มีระดับความเสี่ยงสูงมาก (ผู้ที่มีผลประเมินโอกาสเสี่ยงจากตารางสี ≥ 30%) 20 จังหวัดแรก ได้แก่ จังหวัดจันทบุรี ชัยภูมิ สมุทรสาคร พังงา นครราชสีมา นราธิวาส พัทลุง สงขลา ประจวบคีรีขันธ์ ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ สุพรรณบุรี กระบี่ นนทบุรี สตูล ชลบุรี สุราษฎร์ธานี ขอนแก่น นครศรีธรรมราช และภูเก็ต ตามลำดับ และ 13 จังหวัดเดิมที่ดำเนินงานในปี 60 ได้แก่จังหวัดอ่างทอง สระบุรี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี นครสวรรค์ สิงห์บุรี ราชบุรี จันทบุรี แพร่ อุทัยธานี พังงา น่านและชุมพร

อัตราป่วยด้วยโรคหัวใจขาดเลือด (I20 - I25) ต่อประชากรแสนคน ปี พ.ศ.2555 - 2558 15 จังหวัดแรกที่มีอัตราป่วยสูงในปี พ.ศ.2556 ที่มา : ข้อมูลมรณบัตร สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

20 จังหวัดแรกที่มีระดับความเสี่ยง CVD Risk ≥30% รอบ 1 ต. ค

โครงการ CBI - NCDs วัตถุประสงค์ ผลผลิตโครงการ - เพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินงานลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน - เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในชุมชน ผลผลิตโครงการ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.พัฒนาการดำเนินงานลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2.ขยายการดำเนินงานลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังไปสู่ชุมชน 3.ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีต่อการลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เครือข่ายดำเนินงานลดเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน

ผู้ร่วมดำเนินการ พื้นที่เป้าหมาย สสจ. 20 จังหวัด ปี 61 และ 13 จังหวัดจากปี 60 สคร. ที่ 4 ,5, 6,7, 9, 11 และ 12 (ในจังหวัดที่มีการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ที่มีระดับความเสี่ยงสูงมาก( ≥ 30%) 20 จังหวัดแรก ปี 61 และ สคร. ที่ 1, 3,4,5, 6 และ 11 ที่ดำเนินการในปี 60 พื้นที่เป้าหมาย ชุมชนในเขตเทศบาลเมือง/เทศบาลนคร/อบต.เป้าหมาย 31 จังหวัด

ระยะเวลาการดำเนินงาน 1.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสำหรับ, สคร., สสจ. และสถานบริการ สธ.เป้าหมาย 2.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสำหรับเทศบาลนคร/ เทศบาลเมือง/ เทศบาลตำบล /อบต. สคร. สสจ. และชุมชน เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 3.ประชุมเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ณ เทศบาล (อย่างน้อย 4 ครั้ง)(ลงพื้นที่) 16-17 ม.ค. 61 ก.พ. 61 8-9 มี.ค.61 เม.ย.61 พ.ค.61 มิ.ย.61 ก.ค.61 ส.ค.61 4.ติดตามผลการดำเนินงานโครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(CBI NCDs) ( 2 ครั้ง ) **ตามแบบรายงาน ผู้ร่วมดำเนินการ สสจ. 20 จังหวัด ปี 61 และ 13 จังหวัดจากปี 60 สคร. ที่ 4 ,5, 6,7, 9, 11 และ 12 (ในจังหวัดที่มีการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ที่มีระดับความเสี่ยงสูงมาก( ≥ 30%) 20 จังหวัดแรก ปี 61 และ สคร. ที่ 1, 3,4,5, 6 และ 11 ที่ดำเนินการในปี 60 พื้นที่เป้าหมาย/ สถานที่ดำเนินการ ชุมชน และเทศบาลเมือง/เทศบาลนคร/องค์การบริหารส่วนตำบลที่สมัครใจ 13 จังหวัด ในปี 2560 และ 20 จังหวัด เป้าหมาย ในปี 2561

*ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดำเนินงานชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (CBI NCDs) สำหรับบุคลากรสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข(16-17 มค.61) วัตถุประสงค์ - เพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินงานลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน - เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย - สคร. 2 คน/แห่ง - สสจ. และสถานบริการ สธ.เป้าหมาย รวม 4 คน/ จังหวัด

5 ขั้นตอนประกอบการดำเนินงาน CBI NCDs ปี 2561 แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงาน มี.ค. – ส.ค. 61 2 ประเมินและวิเคราะห์ ชุมชนที่เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ทำแผนชุมชนร่วมกันในเวทีชุมชน ดำเนินงานตามแผนชุมชน กำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 5 3 4

เครื่องมือในการดำเนินงาน เครื่องมือประกอบการดำเนินงาน CBI NCDs ปี 2561 สำหรับเทศบาลและชุมชน เพื่อการพัฒนา ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน(เอกสารหมายเลข 1.1) 2. กรอบแนวทางในการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน .......... ......ตามแผนระยะสั้น 1 ปี (สำหรับชุมชน) (Logic Model) .......(เอกสารหมายเลข 1.2) 3. (ร่าง) แบบรายงานผลการดำเนินงาน CBI NCDs ปีงบประมาณ 2561 .........(เอกสารหมายเลข 2)

การติดตามประเมินผล ผู้รับผิดชอบโครงการของเทศบาลและชุมชน รายงานผลการดำเนินงานรอบ 8 เดือน และรอบ 12 เดือน - หนังสือติดตาม เม.ย.61 และ ส.ค.61 ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินการ 4 ครั้ง โดย สรม. สคร. และ สสจ. เม.ย.61 –มิ.ย.61

ขอบคุณค่ะ กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สำนักโรคไม่ติดต่อ โทร 02 - 590 3987 โทรสาร 02 - 590 3988 นางเพชราภรณ์ วุฒิวงศ์ชัย เบอร์มือถือ 087 - 089 4054 2. นางสาวเพียงใจ ทองวรรณดี E-mail phiengjait@hotmail.co.th เบอร์มือถือ 086 - 412 2275 3. นางสาวรักนิรันดร์ เครือประเสริฐ E-mail Ruknirun.bow@hotmail.com เบอร์มือถือ 091 - 046 2232