โครงการเสริมสร้างความรู้ทางวินัย แก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย
พรบ. ข้าราชการ กทม.ข้อบัญญัติกทม. เรื่อง ลูกจ้าง พ.ศ. 2535 ประเทศไทย ขรก./ลูกจ้าง กทม. กฎหมายต่างๆ พรบ. ข้าราชการ กทม.ข้อบัญญัติกทม. เรื่อง ลูกจ้าง พ.ศ. 2535 ประชาชน
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ข้าราชการ ลูกจ้าง พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการกรุงเทพมหานครฯ พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ลูกจ้าง พ.ศ. ๒๕๓๕
วินัย คือ กฎหมาย ระเบียบ แบบแผน ข้อบังคับที่กำหนดไว้เพื่อใช้ควบคุมความประพฤติของบุคลากรในองค์กร
ลักษณะพิเศษของวินัย 1. ไม่มีอายุความ 2. ผู้ร้องเรียนไม่จำเป็นต้องเป็นผู้เสียหาย 3. พ้นจากราชการแล้วยังลงโทษได้ 4. ไม่มีผลให้ยุติเรื่องในการถอนเรื่องหรือ ยอมความกัน
โทษทางวินัย ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ปลดออก ไล่ออก ภาคทัณฑ์ ข้าราชการ ลูกจ้าง ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ปลดออก ไล่ออก ภาคทัณฑ์ ตัดค่าจ้าง ลดขั้นค่าจ้าง ปลดออก ไล่ออก
10 TOP ความผิดที่พบเสมอ 1.ขาดราชการ 2.เล่นการพนัน 1.ขาดราชการ 2.เล่นการพนัน 3.เสพสุรา 4.ทุจริตการเงิน 5.ทะเลาะวิวาท 6.ชู้สาว 7.ทำร้ายร่างกาย 8.ขัดคำสั่ง ผบ. 9. ละทิ้งหน้าที่ 10.รายงานเท็จ
สาเหตุของการกระทำผิด 1.ปัญหาทางเศรษฐกิจ 2.อบายมุข 3.ตัวอย่างที่ไม่ดี 4.ความประมาท ความคึกคะนอง 5.คุณภาพของคนไม่เหมาะสมกับงาน 6.ผู้บังคับบัญชาปล่อยปละละเลย
ที่มาของข้อกล่าวหาหรือการกล่าวโทษทางวินัย 1. บัตรสนเท่ห์ 2. มีการร้องเรียน 3. ผู้บังคับบัญชาพบเห็นเอง 4. ได้รับแจ้งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. สื่อมวลชน
ใครที่มีอำนาจ ดำเนินการทางวินัย ?
ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ดำเนินการทางวินัยแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งมีกรณีที่กล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย มาตรา 90 / ข้อ 20
ขั้นตอนและวิธีการ ดำเนินการทางวินัย
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการทางวินัย ข้าราชการ ลูกจ้าง กฎ ก.พ. ว่าด้วยการ ดำเนินการทางวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ลูกจ้าง พ.ศ. ๒๕๓๕ กฎ ก.พ. ว่าด้วยการ ดำเนินการทางวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖
ดำเนินการอย่างไร ? - สืบสวน - สอบสวน
การสืบสวน หมายถึง การแสวงหาข้อเท็จจริงและ พยานหลักฐานเพื่อจะทราบรายละเอียดของเรื่องใดๆ เพื่อพิจารณาว่า กรณีมีมูล ที่ควรกล่าวหาว่าผู้ใดกระทำผิดวินัยหรือไม่
- ผู้บังคับบัญชาดำเนินการสืบสวนเอง - มอบหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชา สืบสวน ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ.กำหนด - แต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวน
แต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวน ชื่อและตำแหน่งของผู้ถูกกล่าวหา เรื่องที่กล่าวหา (ไม่ต้องระบุฐานความผิดและมาตรา) ชื่อของคณะกรรมการสืบสวน
ผลการสืบสวน
- ไม่มีมูล - มีมูลไม่ร้ายแรง - มีมูลร้ายแรง
ไม่มีมูล ยุติเรื่อง
= มีมูลควรกล่าวหา มีการกระทำตามที่ถูกกล่าวหา ผู้ถูกกล่าวหาเกี่ยวข้องกับการนั้น
แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน มีมูลไม่ร้ายแรง แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน ผู้บังคับบัญชา ลงโทษ คณะกรรมการฯ ชี้แจง
แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน มีมูลร้ายแรง ต้องแต่งตั้ง คณะกรรมการฯ สอบสวนตามที่ กฎ ก.พ.กำหนด รายงาน แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน ผบ.ลงโทษ ชี้แจง
ก่อนการดำเนินการทางวินัย การดำเนินการทางวินัย 1.ร้องเรียน/ บัตรสนเท่ห์ ร้ายแรง ผบ. มีมูล 2.ตรวจเห็นเอง สอบสวน สืบสวนข้อเท็จจริง 3.สื่อมวลชน ไม่ร้ายแรง 4.สตง. 5.ปปช.(สำนวน/ฐานความผิด) ก่อนการดำเนินการทางวินัย การดำเนินการทางวินัย
การสอบสวน
หมายถึง การรวบรวมพยานหลักฐานและการดำเนินการใดๆเกี่ยวกับเรื่องที่มีกล่าวหาว่ามีการกระทำผิดวินัย เพื่อให้ทราบพฤติการณ์และข้อเท็จจริงในเรื่องที่กล่าวหานั้น และเพื่อให้การดำเนินการทางวินัยได้ความจริงและยุติธรรม
เป็นการดำเนินการเพื่อแสวงหาข้อเท็จจริง ค้นหาความจริงและรวบรวมพยานหลักฐาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะทราบข้อเท็จจริง เพื่อพิสูจน์การกระทำผิดรวมทั้งเพื่อจะเอาตัว ผู้กระทำผิดมาลงโทษ
การดำเนินการทางวินัย ต้องมีการกล่าวหาว่า กระทำผิดวินัย ต้องมีการสอบสวน ให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงและนำสืบ แก้ข้อกล่าวหา
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการดำเนินการทางวินัย พ.ศ. 2556 กฎ ก.พ. ว่าด้วยการดำเนินการทางวินัย พ.ศ. 2556
กรณีที่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน การกระทำความผิดวินัยอย่างร้ายแรง - ข้าราชการ มาตรา 93 แห่ง พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 - ลูกจ้าง ข้อ 25 แห่งข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ลูกจ้าง พ.ศ. 2535
ต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก ทุจริต ละทิ้งหน้าที่ ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง ความผิดที่ กฎ ก.พ. กำหนดให้เป็นความผิดวินัยร้ายแรง หย่อนความสามารถ/ขาดคุณสมบัติ (ไม่ใช่วินัย)
ความผิดที่ไม่จำเป็นต้องสอบสวน ข้อยกเว้น ความผิดที่ไม่จำเป็นต้องสอบสวน ไม่ร้ายแรง ร้ายแรง - รับสารภาพเป็นหนังสือ ได้รับโทษจำคุก ละทิ้งหน้าที่ติดต่อเกิน15 วัน รับสารภาพเป็นหนังสือ
ผู้มีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ข้าราชการ ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและ แต่งตั้ง ลูกจ้าง ผู้บังคับบัญชา
องค์ประกอบของคณะกรรมการสอบสวน กรรมการและเลขานุการ ประธานกรรมการ ผู้ช่วยเลขานุการ (กรณีจำเป็น)
คุณสมบัติของคณะกรรมการสอบสวน 1. ข้าราชการ (ประจำ) 2. ประธานฯ ระดับไม่ต่ำกว่าผู้ถูกกล่าวหา ต้องมีนิติกร ผู้ได้รับปริญญาทางกฎหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรมฯ ผู้มีประสบการณ์ฯ
ลำดับขั้นตอนการสอบสวน
1 ดำเนินการแจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย
แจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนฯ ผู้ถูกกล่าวหา ประธานกรรมการ 3. กรรมการ (ข้อ 21)
2 ประชุมคณะกรรมการสอบสวนฯ
ประชุมนัดแรก กำหนดประเด็นและวางแนวทางการสอบสวน รวบรวมพยานหลักฐาน (ข้อ 27)
ประเด็น จุดสำคัญที่จะต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัยเพราะเป็นจุดที่ยังโต้เถียงกันอยู่ หรือยังไม่ได้ความกระจ่างชัด
จุดสำคัญที่ต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัย การกระทำ กรณีความผิด ความร้ายแรงแห่งกรณี
รวบรวมพยานหลักฐาน 3
ประเภทของพยานหลักฐาน พยานวัตถุ พยานเอกสาร พยานบุคคล (ข้อ 29)
พยานวัตถุ พยานเอกสาร พยานเอกสาร ต้นฉบับ สำเนา สืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร (ข้อ 34)
การสอบพยานบุคคล Q
บันทึกถ้อยคำของพยาน ใช้แบบการสอบสวนตาม กฎ ก.พ. ว่าด้วยการดำเนินการทางวินัย 2556 ดว. 3 (ข้อ 31)
บันทึกถ้อยคำของพยาน บันทึกถ้อยคำมีหลายหน้า การแก้ไขเพิ่มเติมข้อความ ผู้ให้ถ้อยคำไม่ยอมลงลายมือชื่อ / ลงลายมือชื่อไม่ได้ (ข้อ 31)
หลักเกณฑ์การสอบปากคำ แจ้งฐานะกรรมการ ครั้งละหนึ่งคน กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง (ข้อ 30)
หลักเกณฑ์การสอบปากคำ ห้ามบุคคลอื่นอยู่ในที่สอบปากคำ ห้ามกระทำการโดยมิชอบ เพื่อจูงใจให้ถ้อยคำ (ข้อ 32 และข้อ 33)
ประชุมคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาว่าพยานหลักฐานใดบ้างที่สนับสนุน ข้อกล่าวหา ผู้ถูกกล่าวหาได้กระทำการใด เมื่อใด อย่างไร และเป็นความผิดวินัยกรณีใด
แจ้งและอธิบายข้อกล่าวหาและ สรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุน ข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ แจ้งสิทธิของผู้ถูกกล่าวหาและถาม ผู้ถูกกล่าวหาว่าจะรับหรือปฏิเสธ ข้อกล่าวหา 4
ความสำคัญของการแจ้งข้อกล่าวหาฯ คำสั่งทางปกครองที่อาจกระทบถึงสิทธิของคู่กรณี (มาตรา 30 แห่ง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539)
การแจ้งข้อกล่าวหาฯ บันทึกตามแบบ (ดว.5) ข้อเท็จจริงและพฤติการณ์แห่งการกระทำผิด ความผิดวินัยกรณีใด สรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา (ข้อ 40)
สรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา 1. คำพิพากษาถึงที่สุดว่าได้กระทำผิด 2. ข้อเท็จจริงตามคำพิพากษาได้ความประจักษ์ชัดว่ากระทำผิดตามข้อกล่าวหา ไม่จำเป็นต้องรวบรวมพยานหลักฐานอื่น (ข้อ 39)
ผู้ถูกกล่าวลงลายมือชื่อรับทราบข้อกล่าวหา บันทึก การแจ้งข้อกล่าวหาฯ ผู้ถูกกล่าวลงลายมือชื่อรับทราบข้อกล่าวหา บันทึก ส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ (ข้อ 41 และข้อ 43)
บันทึกถ้อยคำของผู้ถูกกล่าวหา ใช้แบบการสอบสวนตาม กฎ ก.พ. ว่าด้วยการดำเนินการทางวินัย 2556 ดว. 4 หลักเกณฑ์ พยานบุคคล (ข้อ 31)
ประชุมพิจารณาพยานหลักฐาน ทั้งหมด เพื่อ ลงมติ ว่า ผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดวินัย หรือไม่ 5
การประชุมพิจารณาลงมติ องค์ประชุม - ไม่น้อยกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง มติ - ถือเสียงข้างมาก สาระ พิจารณาเปรียบเทียบพยานหลักฐานที่สนับสนุน ข้อกล่าวหา/ที่หักล้างข้อกล่าวหา และวินิจฉัยว่า - ทำผิดหรือไม่ - ผิดกรณีใด มาตราใด - เสนอระดับโทษ - มีมลทินมัวหมองหรือไม่ อย่างไร
-หย่อนความสามารถ หรือมีมลทิน มัวหมอง - ถ้าผิด ผิดกรณีใด มาตราใด ควรได้รับโทษสถานใด หรือ -หย่อนความสามารถ หรือมีมลทิน มัวหมอง
- ไม่ผิดวินัย ให้สั่งยุติเรื่อง พิจารณาเสนอความเห็น - ไม่ผิดวินัย ให้สั่งยุติเรื่อง - ผิดวินัยไม่ร้ายแรง ให้สั่งลงโทษ - ผิดวินัยเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ ให้สั่งงดโทษ และให้ทำทัณฑ์บน หรือว่ากล่าวตักเตือน
6 ทำรายงานการสอบสวน
สาระสำคัญ 1. สรุปข้อเท็จจริงและพยาน 2. วินิจฉัยเปรียบเทียบพยาน 3 สาระสำคัญ 1.สรุปข้อเท็จจริงและพยาน 2.วินิจฉัยเปรียบเทียบพยาน 3.ความเห็นของคณะกรรมการ -รวบรวมประวัติ/ความประพฤติ -จัดทำสารบัญชีเอกสาร
การทำรายงานผลการสอบสวน 1. อ้างคำสั่งแต่งตั้งกรรมการ กรณีที่มีการกล่าวหา วันเวลาสถานที่เกิดเหตุ 2. ย่อคำให้การผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด พยานเอกสาร พยานวัตถุ ข้อเท็จจริงอื่น ๆ 3. สรุปข้อเท็จจริง ข้อพิจารณาและข้อเสนอแนะ 4. ลายมือชื่อคณะกรรมการ
การเรียงเอกสาร 1. รายงานการสอบสวน 1. รายงานการสอบสวน 2. คำให้การ ผู้กล่าวหา ผู้ถูกกล่าวหา พยาน 3. พยานเอกสาร พยานวัตถุ 4. บันทึกอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 5. ประวัติ 6. คำสั่งแต่งตั้งกรรมการ (เรื่องเดิม) 7. บัญชีเอกสาร (หากมีเอกสารมาก)
7 เสนอสำนวนการสอบสวน ต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
กรณีผู้ถูกกล่าวหาย้าย - โอน สอบสวนจนเสร็จ รายงานการสอบสวน ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบความถูกต้อง ส่งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาคนใหม่ ตรวจสอบความถูกต้องได้ด้วย
การพิจารณาสั่งการของผู้สั่งแต่งตั้ง (กรณีข้าราชการ) การพิจารณาสั่งการของผู้สั่งแต่งตั้ง (กรณีข้าราชการ) สำนวน ผู้สั่งแต่งตั้ง ตรวจสอบ/พิจารณา ไม่ผิด ผิดไม่ร้ายแรง ผิดร้ายแรง/ มลทินมัวหมอง ยุติเรื่อง สั่งลงโทษ ส่งเรื่องเข้า ก.ก.
การพิจารณาสั่งการของผู้สั่งแต่งตั้ง (กรณีลูกจ้าง) สำนวน ผู้สั่งแต่งตั้ง ตรวจสอบ/พิจารณา ไม่ผิด ผิดไม่ร้ายแรง ผิดร้ายแรง/ มลทินมัวหมอง ยุติเรื่อง สั่งลงโทษ สั่งลงโทษ
การรวบรวมพยานหลักฐานเพิ่มเติม ในกรณีจำเป็น ต้องสอบสวนเพิ่มเติม สรุปพยานหลักฐานเพิ่มเติมที่สนับสนุนข้อกล่าวหา ให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาแก้ข้อกล่าวหา