การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ลานเทปาล์มน้ำมัน ตำบลนาเหนือ
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
MRCF การเชื่อมโยงแนวทางการส่งเสริมการเกษตร
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
ขยายโอกาสสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
งบประมาณและความช่วยเหลือ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
พลเอก ประสาท สุขเกษตร เลขานุการ รมต.กษ.
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
บทบาทของสหกรณ์การเกษตรต่อ 6 มาตรการภายใต้แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นางอัญชนา ตราโช ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
โครงการประจำปีงบประมาณ 2559
กลุ่มเกษตรกร.
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
การส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
แผนงานบูรณาการพัฒนาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร
หน่วยงานเจ้าภาพหลัก : กษ. (สศก. ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง:
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560 นายสำราญ สาราบรรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

หลักการดำเนินงานเกษตรแปลงใหญ่

ระบบส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ ระบบส่งเสริมการเกษตรที่ยึดพื้นที่เป็นหลัก (area-based approach) ดำเนินงานในลักษณะบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมีผู้จัดการแปลงเป็นผู้บริหารจัดการพื้นที่ ในทุกกิจกรรมตลอด supply chain

หลักการดำเนินการเกษตรแปลงใหญ่ พื้นที่เหมาะสมสอดคล้องกับ AGRIMAP มีกระบวนการกลุ่มอยู่ก่อน : สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน มีแหล่งน้ำชัดเจน/ปริมาณน้ำเพียงพอ มีตลาดรองรับ การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพื้นที่ กำหนดเป้าหมายและแผนปฏิบัติที่ชัดเจน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร กำหนดมาตรฐานการผลิต ผู้จัดการแปลงที่มีความสามารถ

เป้าหมาย : ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มโอกาสแข่งขัน ตัวชี้วัด : ต้นทุนต่อหน่วยลดลง ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น พิจารณาจากกิจกรรม การใช้ปัจจัยการผลิต การใช้แรงงานและเครื่องจักรกลการเกษตร การปรับปรุงดิน การบริหารจัดการ ทีมงานหลัก : การตลาด – สหกรณ์จังหวัด การผลิต – เกษตรจังหวัด เพิ่มผลผลิต – พัฒนาที่ดิน บริหารจัดการ – เกษตรและสหกรณ์จังหวัด ผู้จัดการแปลง : เกษตรอำเภอ/ปศุสัตว์อำเภอ/ประมงอำเภอ/สปก./สหกรณ์/ชลประทาน

เป้าหมายการดำเนินงานแปลงใหญ่ ปี 2560 ประเภท 2559 2560 เก่า 600 ใหม่ 400 เตรียมความพร้อม 512* ที่มา : สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร, 2559

Road Map การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ แผน 1. เตรียมการ 3. การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม 2. จัดทำแผน ปฏิบัติการ 5. การพัฒนา ด้านการตลาด 4. การพัฒนาการผลิต 1. การจัดอบรมเจ้าหน้าที่ IFPP 2. พัฒนาผู้จัดการแปลง 3. พัฒนาเกษตรกรสู่การเป็นผู้จัดการแปลง 4. อบรมบัญชีต้นทุนอาชีพแก่สมาชิกกลุ่ม 5. ทบทวนปรับปรุงแผนและเป้าหมายของกลุ่ม 1. ประชุม SC เพื่อบูรณาการทำงาน 2. จัดทำแผนการสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. วิเคราะห์และวางแผนการตลาด และจัดทำแผนธุรกิจกลุ่ม (ระหว่างผู้ผลิตและผู้ซื้อ) 4. กำหนดแผนพัฒนากลุ่ม 1. ประชุมทีมผู้จัดการและทีมสนับสนุน 3 ทีม 2. ประชุมสมาชิกกลุ่มเพื่อจัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน/จัดเก็บข้อมูลรายบุคคล (IFPP) 3. บริหารจัดการการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิตและเครื่องมืออุปกรณ์ในการผลิตร่วมกัน 4. พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่ม ด้านการผลิต 1. ถ่ายทอดความรู้ด้านการลดต้นทุนเพิ่มผลผลิต เช่น - การใช้พันธุ์ดี - การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน - การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพืชนั้นๆ 2. จัดทำแปลงเรียนรู้ตามความต้องการของกลุ่ม 3. การยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐานด้านต่างๆ - GAP/เกษตรอินทรีย์/RSPO/อื่นๆ 1. การแปรรูปเบื้องต้นสร้างแบรนด์และพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 2. จัดเวทีเชื่อมโยงแหล่งรับซื้อกับผู้ผลิต 3. การรวบรวมและคัดแยกส่งตลาดคู่ค้า 4. ขยายช่องทางการตลาด กิจกรรม แปลงปี 2559 ระยะเวลา พ.ย. 59 -ม.ค. 60 พ.ย. 59- ม.ค. 60 พ.ย. 59- ก.ย. 60 พ.ย. 59 - ก.ย. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 หน่วยงาน กสก./กตส./SC/ทีม 4 ทีม SC/ทุกหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง ทีม 4 ทีม/เกษตรกร/ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศพก./ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กสส./กสก. เป้าหมาย แปลงใหญ่ ปี 2559 จำนวน 600 แปลง/กลุ่มสามารถบริหารจัดการแปลงในด้านการวางแผน/จัดการการผลิต การตลาดและการบริหารจัดการกลุ่มได้ดีขึ้น 1. ลดต้นทุน 20% 2. เพิ่มผลผลิต 20% 3. ยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐาน 4. สอดคล้องความต้องการของตลาด 5. เพิ่มศักยภาพการบริหารการจัดการ

Road Map การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ - แผน 1. เตรียมการ 3. การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม 2. จัดทำ แผนปฏิบัติการ 5. การพัฒนา ด้านการตลาด 4. การพัฒนาการผลิต 1. ประชาสัมพันธ์และรับสมัครเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 2. จัดทำข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นทุกแปลง (จำนวนสมาชิก ชนิดสินค้า ขนาดพื้นที่ ฯลฯ) 3. เสนอข้อมูลผ่าน SC และคณะอนุกรรมการฯ เห็นชอบรับรองแปลง 4. แจ้งผลการพิจารณาให้ฝ่ายเลขาฯ (กสก.) ภายใน มค. 60 5. บันทึกข้อมูลแปลงที่ผ่านการรับรองในระบบ 6. คัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการกลุ่ม 1. ประชุม SC เพื่อบูรณาการทำงาน 2. ทีมผู้จัดการร่วมกับเกษตรกรวิเคราะห์และกำหนดเป้าหมายการพัฒนาแปลงทั้ง 5 ด้าน 3. จัดทำแผนการสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. กำหนดเป้าหมายการพัฒนาและจัดทำแผนพัฒนากลุ่ม 1. ประชุมทีมผู้จัดการและทีมสนับสนุน 3 ทีม 2. ประชุมสมาชิกกลุ่มเพื่อจัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน/จัดเก็บข้อมูลรายบุคคล (IFPP) 3. บริหารจัดการการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิตและเครื่องมืออุปกรณ์ในการผลิตร่วมกัน ด้านการผลิต 1. ถ่ายทอดความรู้ด้านการลดต้นทุนเพิ่มผลผลิต - การใช้พันธุ์ดี - การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน - การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพืชนั้นๆ 2. จัดทำแปลงเรียนรู้ตามความต้องการของกลุ่ม 3. การยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐานด้านต่างๆ - GAP/เกษตรอินทรีย์/RSPO/อื่นๆ 1. การแปรรูปเบื้องต้นสร้างแบรนด์และพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 2. จัดเวทีเชื่อมโยงแหล่งรับซื้อกับผู้ผลิต 3. การรวบรวมและคัดแยกส่งตลาดคู่ค้า 4. ขยายช่องทางการตลาด กิจกรรม แปลงปี 2560 ระยะเวลา พ.ย. 59-ม.ค. 60 ธ.ค. 59-ก.พ. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 ธ.ค. 59-ก.ย. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 หน่วยงาน ศพก./ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กสก./กตส./SC/ทีม 4 ทีม SC/ทุกหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง ทีม 4 ทีม/เกษตรกร/ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กสส./กสก. เป้าหมาย แปลงใหญ่ ปี 2560 จำนวนไม่น้อยกว่า 400 แปลง 1. ลดต้นทุน 20% 2. เพิ่มผลผลิต 20% 3. ยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐาน 4. สอดคล้องความต้องการของตลาด 5. เพิ่มศักยภาพการบริหารการจัดการ

Road Map การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ - แผน 1. เตรียมการ 3. การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม 2. จัดทำแผนปฏิบัติการ 5. การพัฒนา ด้านการตลาด 4. การพัฒนา การผลิต กิจกรรม 1. ประชาสัมพันธ์และรับสมัครเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 2. จัดทำข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นทุกแปลง (จำนวนสมาชิก ชนิดสินค้า ขนาดพื้นที่ ฯลฯ) 3. คัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการกลุ่ม 1. เกษตรกรวิเคราะห์และกำหนดเป้าหมายการพัฒนาแปลงทั้ง 5 ด้าน 2. จัดทำแผนการสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. กำหนดแผนพัฒนากลุ่ม 4. ประเมินศักยภาพของกลุ่ม 1. ประชุมสมาชิกกลุ่มเพื่อจัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน/จัดเก็บข้อมูลรายบุคคล (IFPP) 2. บริหารจัดการการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิตและเครื่องมืออุปกรณ์ในการผลิตร่วมกัน ด้านการผลิต 1. ถ่ายทอดความรู้ด้านการลดต้นทุนเพิ่มผลผลิต เช่น - การใช้พันธุ์ดี - การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน - การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพืชนั้นๆ 2. จัดทำแปลงเรียนรู้ตามความต้องการของกลุ่ม 3. การยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐานด้านต่างๆ - GAP/เกษตรอินทรีย์/RSPO/อื่นๆ 1. การแปรรูปเบื้องต้นสร้างแบรนด์และพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 2. จัดเวทีเชื่อมโยงแหล่งรับซื้อกับผู้ผลิต 3. การรวบรวมและคัดแยกส่งตลาดคู่ค้า 4. ขยายช่องทางการตลาด แปลงเตรียมความพร้อม ระยะเวลา พ.ย. 59-ม.ค. 60 ธ.ค. 59-ก.พ. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 ธ.ค. 59-ก.ย. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 หน่วยงาน กสก. ทุกหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง กสก./เกษตรกร ศพก./ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กสก. แปลงเตรียมความพร้อม จำนวน 512 แปลง (ส่งเสริมเพื่อการรวมกลุ่มในเวลา 6 เดือน หากพร้อมให้รับรองเป็นแปลงใหญ่ ภายในปี 2560) 1. ลดต้นทุน 2. เพิ่มผลผลิต 3. ยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐาน 4. สอดคล้องความต้องการของตลาด 5. เพิ่มศักยภาพการบริหารการจัดการ เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน ปี 2559

ผลการดำเนินงานเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2559 9 ประเภท : ข้าว พืชไร่ ไม้ยืนต้น ผัก/สมุนไพร ไม้ผล หม่อน กล้วยไม้ ปศุสัตว์ และ ประมง 33 ชนิดสินค้า 600 แปลง 1,539,866.41 ไร่ เกษตรกร 96,697 ราย

มูลค่าเพิ่มจากแปลงใหญ่ 12 ชนิดสินค้า ปี 2559 พื้นที่ (ไร่) เกษตรกร (ราย) ต้นทุน (บ/ไร่) ผลผลิต (กก/ไร่) มูลค่าเพิ่มรวม (ล้านบาท) เดิม ใหม่ ผลผลิต ต้นทุน รวม 1.ข้าว 949,254 63,989 4,222 3,420 583 659 758 431 1,188 2.ข้าวโพด 27,978 2,221 4,158 3,214 1,050 1,192 26 32 58 3.มันสำปะหลัง 86,778 4,960 4,775 3,692 3,750 4.793 94 136 230 4.ผัก/สมุนไพร 11,369 2,509 5,812 4,853 1,750 2,279 11 63 74 5.ปาล์มน้ำมัน 272,600 6,949 10,574 8,998 3,400 4,000 430 818 1,248 6.ทุเรียน 15,280 1,485 23,360 19,692 2,000 2,308 56 376 432 7.มังคุด 6,762 1,257 6,246 5,266 408 471 7 25

มูลค่าเพิ่มจากแปลงใหญ่ 12 ชนิดสินค้า ปี 2559 (ต่อ) พื้นที่ (ไร่) เกษตรกร (ราย) ต้นทุน (บ/ไร่) ผลผลิต (กก/ไร่) มูลค่าเพิ่มรวม (ล้านบาท) เดิม ใหม่ ผลผลิต ต้นทุน รวม 8.ลำไย 21,113 2,230 22,613 19,062 1,500 1,731 75 171 246 9.หม่อนไหม 834 382 10,415 9,568 598 638 1 10 11 10.กล้วยไม้ 607 33 156,000 120,0000 500 550 9 4 13 11.โคเนื้อ 3,501 1,333 30,769 29,169 15,600 18,000 6 588 594 12.ปลานิล 17,294 1,563 19,730 18,003 566 612 29 62 91 ผลรวมทั้งหมด 1,396,077 87,308 1,502 2,715 4,217 ผลรวมเฉพาะพืช 1,392,576 86,015 1,467 2,065 3,532 ค่าเฉลี่ยมูลค่าเพิ่มที่เกษตรกรได้รับ= 41,060 บาท/คน (คิดเฉพาะด้านพืช)

ผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น สมาชิกแปลงใหญ่ปรับตัว และนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ : Laser leveling ระบบน้ำหยด Motor Pool การรวมกลุ่มสมาชิกแปลงใหญ่ : สหกรณ์ 122 กลุ่ม วิสาหกิจชุมชน 393 กลุ่ม พัฒนาให้เกษตรกรสู่ (Smart Farmer) 67,200 ราย พัฒนาคุณภาพสินค้าในแปลงใหญ่ : GAP(พืชอาหาร) 38,000 ราย เกษตรอินทรีย์(ข้าว พืชผัก ไม้ผล) 1,083 ราย RSPO(ปาล์มน้ำมัน) 99 ราย

การปรับเงื่อนไขและเกณฑ์แปลงใหญ่

เงื่อนไขและเกณฑ์เดิม เป็นการรวมแปลงผลิตสินค้าชนิดเดียวกัน แปลงไม่อยู่ติดกันเป็นผืนเดียว พื้นที่มีความเหมาะสม และมีศักยภาพที่จะพัฒนาในเชิงเศรษฐกิจ เกษตรกรสมัครใจ พร้อมที่จะพัฒนาการผลิตและการตลาดร่วมกัน โดยการส่วนร่วมตลอดกระบวนการพัฒนา ขนาดพื้นที่ดำเนินการ พืชไร่ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา และข้าว มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 1,000 ไร่ ขึ้นไป และเกษตรกรสมัครใจเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 50 รายขึ้นไป ไม้ผล พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ หรือพืชอื่น ๆ มีขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 300 ไร่ ขึ้นไป หรือเกษตรกรสมัครใจเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 50 รายขึ้นไป ผ่านการรับรองจากคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด

การปรับปรุงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 1. เงื่อนไข ลดขนาดแปลง พืชไร่ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา และข้าว มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 300 ไร่ ขึ้นไป และเกษตรกรสมัครใจเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 รายขึ้นไป ไม้ผล พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ พืชอื่น ๆ ปศุสัตว์ และประมง มีขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 300 ไร่ ขึ้นไป หรือเกษตรกรสมัครใจเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 รายขึ้นไป

การปรับปรุงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 2. การลดขั้นตอนการรับรองแปลง - แต่งตั้งคณะทำงานรับรองแปลง (SC ประธาน/เกษตรจังหวัด- เลขานุการ) อยู่ภายใต้อนุฯจังหวัด - องค์กรเกษตรกรสมัครเข้าร่วมแทนสมาชิกแต่ละราย งกา

ขั้นตอนการดำเนินงานส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่-เดิม คัดเลือกพื้นที่ ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ รับสมัครเกษตรกร คณะอนุกรรมการพัฒนาเกษตรและสหกรณ์จังหวัด จัดตั้งผู้จัดการแปลง/คณะกรรมการกลุ่ม/จัดทำฐานข้อมูล/แผนการผลิต Single Command กรมส่งเสริมการเกษตร (ระบบข้อมูล) งกา ผู้จัดการแปลง คณะกรรมการ สมาชิก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการดำเนินงานส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่-ใหม่ คัดเลือกพื้นที่ ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ รับสมัครองค์กรเกษตรกร ขนาด 300 ไร่/ 30 ราย ขนาด 300 ไร่ หรือ 30 ราย จัดตั้งผู้จัดการแปลง/คณะกรรมการกลุ่ม/ฐานข้อมูล/แผนการผลิต รายบุคคล/รายกลุ่ม Single Command คณะทำงานฯ SC-ประธาน กษ./กษจ.-เลขานุการ กรมส่งเสริมการเกษตร (ระบบข้อมูล) งกา ผู้จัดการแปลง คณะกรรมการ สมาชิก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

หลักการของแปลงใหญ่ ง่ายต่อการเข้าถึง : รวมตัวกันได้ จับเป็นกลุ่มผลผลิตเกษตรชนิดเดียวกัน ดำเนินการได้เลย ขนาดพื้นที่เหมาะสม : ไม่จำกัดขนาดและจำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วม พัฒนาให้ถึงเป้าหมาย : ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ขยายโอกาส พื้นที่ไม่เหมาะสมตาม Agri Map สามารถรวมเป็นแปลงใหญ่ได้ : ใช้เทคโนโลยีเข้าไปปรับพื้นที่ให้เหมาะสม ยกระดับ : มาตรฐาน ประสิทธิภาพการผลิต เน้นผลผลิตของแปลงใหญ่

หลักการของแปลงใหญ่ (ต่อ) 6. แหล่งน้ำ : พัฒนาตามความจำเป็น/เหมาะสม 7. กระบวนการกลุ่ม : - กลุ่มเดิม (สหกรณ์/วิสาหกิจชุมชน) – แบ่งเป็นกลุ่มย่อยทำแปลงใหญ่ได้ - ไม่มีกลุ่ม – พัฒนาให้เกิดกลุ่ม ใช้เวลา 8. Economy of scale : ตัดสินด้วยเกณฑ์ของแหล่งทุน ขึ้นกับกิจกรรมทีกลุ่มขอรับการสนับสนุน 9. ความสมัครใจ : เป็นสมาชิกกลุ่มแปลงใหญ่ด้วยความสมัครใจ และดำเนินการภายใต้หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และเป้าหมายของแปลงใหญ่

ขอบคุณ