พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Advertisements

ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.
Incident 1 - Dead-end street ZEE ENGINEERING 10 ปี 23,000 ->38,000$ ROGER BEN JACKSON.
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์แค่ระยะ 20 ปี และการ ปฏิรูปประเทศ.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
การประชุม เพื่อขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาการทับซ้อนของ พื้นที่ป่าไม้และเขตปฏิรูปที่ดิน ระดับจังหวัด โดย นางมิ่งขวัญ วิชยารังสฤษดิ์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
แนวทางการดำเนินงานประกัน คุณภาพการทดสอบมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน การประชุมเชิง ปฏิบัติการ สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือ แรงงาน.
1. 2 สถานะโครงการสำคัญในปีงบประมาณ 2559 พร้อมจะส่งมอบ 8,112 หน่วย พร้อมจะส่งมอบ 8,112 หน่วย ส่งมอบ 10 โครงการ 1,384 หน่วย อยู่ระหว่างก่อสร้าง จะแล้วเสร็จ.
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
Strategy Map วิสัยทัศน์ : “เป็นองค์การที่เป็นเลิศในการบริหารจัดการและคุ้มครองสิทธิการถือครองที่ดินของรัฐและประชาชน มุ่งเน้นการให้บริการโดยบริหารจัดการที่ดี
การบรรยาย เรื่อง “นโยบายการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาสู่การปฏิบัติ” โดย นางวราภรณ์ สีหนาท วันที่
แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
หน่วยงานราชการและภาคเอกชน จังหวัดกาฬสินธุ์ และ
ความยืดหยุ่น ( Elasticity )
การค้าระหว่างประเทศและกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
ความหมายของพลังงาน และความสำคัญของการประหยัดพลังงาน
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
โครงการพัฒนาเกษตรใช้น้ำน้อย (DESIGN BY AGRI MAP) สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าตำบลตูม อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา.
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม EC 261 3(3-0-6)
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561
ระเบียบวาระการประชุม
บทที่ 2 อุปสงค์และอุปทานการท่องเที่ยว
การผลักดันเชิงนโยบายในการสนับสนุน และส่งเสริมการบริหารจัดการถุงยางอนามัย ระดับประเทศ โดย แพทย์หญิงมณฑินี วสันติอุปโภคากร นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ สำนักโรคเอดส์
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
Change 59 Road Map “เปลี่ยน...เพื่อสิ่งที่ดีกว่า” แนวทางการปฏิบัติงาน
การเปลี่ยนแปลงบริษัทและควบรวมกิจการ
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
สรุปความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนบูรณาการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพถ.)
โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ สำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) ปีงบประมาณ 2561 กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร โทร.-โทรสาร
การเป็นศูนย์กลางข้อมูลแรงงานระดับจังหวัด Provincial Data
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
กระบวนการเรียกร้องสิทธิและการดำเนินคดีผู้บริโภค
ROAD MAP “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทฤษฏีและหลักการบริหารค่าตอบแทน
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
การทบทวนผลการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ 2559
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
สมุทรสงคราม -ว่าง- นายธีระชาติ ไทรทอง นางภาวดี ภูมรินทร์
แผนผังความคิด.
การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2561
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
การใช้ประโยชน์ข้อมูลสภาพ และปัญหาด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำ
กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า
นโยบายการบริหารงาน ปี 2560
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
#แอ่งเล็ก...เช็คอิน โดย อภิชาติ โตดิลกเวชช์.
เรียนรู้เทคนิคการสร้าง PowerPoint slide Index
ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาระบบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร
รูปภาพประกอบเกี่ยวกับ
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่ การบริหารจัดการ พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่

การบริหารจัดการพืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่ 1 การบริหารจัดการพืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่ ข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี ในคราวประชุมคณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี ในคราวประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2561 มีข้อสั่งการ ให้กระทรวงมหาดไทยเป็นหน่วยงานหลักในการประสานงานกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นต้น เพื่อจัดทำข้อมูลเกี่ยวกับพืชเกษตร อย่างครบวงจร จำแนกเป็น พืชเศรษฐกิจ (ข้าว มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน ยางพารา อ้อย และข้าวโพด) พืชเพื่อการพาณิชย์ พืชเพื่อการบริโภค โดยแสดงให้เห็นถึงการดำเนินการที่เกี่ยวกับพืชแต่ละชนิดดังกล่าว ตลอดห่วงโซ่การผลิตตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง เช่น พื้นที่การเพาะปลูก กระบวนการผลิต กระบวนการแปรรูป การจำหน่าย ความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ และแนวโน้มราคาผลผลิต เป็นต้น และให้นำข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำการเกษตรของเกษตรกร ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อไป ทั้งนี้ ให้กระทรวงมหาดไทยนำเสนอข้อมูลดังกล่าวต่อนายกรัฐมนตรี ภายในเดือนกรกฎาคม 2561

การบริหารจัดการพืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่ 2 การบริหารจัดการพืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่ การบูรณาการระหว่างกระทรวงมหาดไทย กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงอุตสาหกรรม การประชุมหารือ เรื่อง การบริหารจัดการแผนการผลิตสินค้าเกษตรและฐานข้อมูล การประชุมหารือ  เรื่อง การบริหารจัดการแผนการผลิตและการตลาดพืชเกษตรอย่างครบวง  เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2561 ณ ห้องกิติยากรวรลักษณ์ ชั้น 4 สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยมีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นางสาวชุติมา บุณยประภัศร) เป็นประธาน ซึ่งที่ประชุมมีมติ ดังนี้ 1) ให้ กษ. โดย สศก. สำรวจแนวโน้มการผลิตสินค้าเกษตรหลัก 5 ชนิด (ข้าว มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน ยางพารา และข้าวโพด) 2) ให้ พณ. สำรวจความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ และแนวโน้มราคาผลผลิต 3) ให้ อก. โดย สอน. สำรวจข้อมูลการผลิตและความต้องการของตลาดสินค้าอ้อย 4) ให้ มท. กำหนดกลไกการบริหารจัดการสินค้าเกษตรในระดับตำบล/อำเภอ เพื่อถ่ายทอดข้อมูลแผนการผลิตและการตลาดพืชเกษตร ให้เกษตรกรในพื้นที่ได้รับรู้ เข้าใจ และนำไปประกอบการตัดสินใจในการทำการเกษตรได้อย่างถูกต้อง   เมื่อวันที่  11 กรกฎาคม 2561 ณ ห้องประชุมราชสีห์อาคารศาลาว่าการกระทรวงมหาดไทย โดยมีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นางสาวชุติมา บุณยประภัศร) ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำนายกรัฐมนตรี (นางจินตนา ชัยยวรรณาการ) และรองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายนิสิต จันทร์สมวงศ์) เป็นประธานการประชุม ซึ่งที่ประชุมมีมติให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังนี้ 1) จัดทำข้อมูลอุปสงค์และอุปทาน (Demand and Supply) ของพืชเกษตร 6 ชนิด 2) กำหนดเป้าหมายและแนวทางในการบริหารจัดการแผนการผลิตและการตลาดแต่ละพื้นที่ ให้จังหวัดได้ใช้เป็นกรอบและทิศทาง (Road Map) ในการดำเนินการบริหารจัดการแผนการผลิตและการตลาดต่อไป 3) มอบหมายจังหวัดบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผ่านกลไกการขับเคลื่อนในพื้นที่เพื่อสร้างการรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับพืชเกษตรอย่างครบวงจรไปสู่ประชาชนอย่างยั่งยืน 

การบริหารจัดการพืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่ 3 การบริหารจัดการพืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่ การบริหารจัดการพืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่ 3.1 สถานการณ์พืชเกษตรหลัก 6 ชนิด  3.2 กลไกในการขับเคลื่อนเพื่อสร้างการรับรู้ในแต่ละพื้นที่ ระดับจังหวัด/อำเภอ/ตำบล 3.3 กรอบระยะเวลาการดำเนินงาน 3.1.1 ข้าว 3.1.3 ปาล์มน้ำมัน 3.1.5 อ้อย 3.1.2 มันสำปะหลัง 3.1.4 ยางพารา 3.1.6 ข้าวโพด

3.1 สถานการณ์พืชเกษตรหลัก 6 ชนิด 3.1 สถานการณ์พืชเกษตรหลัก 6 ชนิด  3.1.1 ข้าว  9.34 34.03 33.42 8.36 1.41 1.61 บริโภคในประเทศ 13.32 บริโภคในประเทศ 4.32 บริโภคในประเทศ 0.82 อุตสาหกรรม 2.40 ข้าวนาปี 25.34 อุตสาหกรรม 0.08 ข้าวนาปี 9.34 อุตสาหกรรม - ข้าวนาปี 0.71 เมล็ดพันธุ์ 1.39 เมล็ดพันธุ์ 0.52 เมล็ดพันธุ์ 0.03 ส่งออก 16.92 ข้าวนาปรัง 8.08 ส่งออก 3.44 ข้าวนาปรัง - ส่งออก 0.56 ข้าวนาปรัง 0.90 ข้าวทุกชนิด พื้นที่ปลูก 70.42 (ล้านไร่) ข้าวหอมมะลิ พื้นที่ปลูก 26.09 (ล้านไร่) ข้าวปทุมธานี พื้นที่ปลูก 2.00 (ล้านไร่) 7.16 16.84 0.27 15.23 0.23 7.01 บริโภคในประเทศ 5.97 บริโภคในประเทศ 2.03 บริโภคในประเทศ 0.18 อุตสาหกรรม 0.11 อุตสาหกรรม 2.21 ข้าวนาปี 8.98 อุตสาหกรรม - ข้าวนาปี 0.20 ข้าวนาปี 6.11 เมล็ดพันธุ์ 0.3 เมล็ดพันธุ์ 0.53 เมล็ดพันธุ์ 0.01 ส่งออก 12.07 ข้าวนาปรัง 6.25 ส่งออก 0.08 ข้าวนาปรัง 0.03 ส่งออก 0.78 ข้าวนาปรัง 0.90 ข้าวเหนียว พื้นที่ปลูก 17.31 (ล้านไร่) ข้าวเจ้าอื่นๆ พื้นที่ปลูก 24.17 (ล้านไร่) ข้าวตลาดเฉพาะ พื้นที่ปลูก 0.53 (ล้านไร่) Demand Supply ปริมาณ : ล้านตันข้าวเปลือก

3.1 สถานการณ์พืชเกษตรหลัก 6 ชนิด 3.1 สถานการณ์พืชเกษตรหลัก 6 ชนิด  3.1.2 มันสำปะหลัง 3.1.3 ปาล์มน้ำมัน 3.1.4 ยางพารา 3.3 4.94 4.9 45.32 34.2 2.68 ผลิตใน ประเทศ 27.2 ผลิตใน ประเทศ 4.9 บริโภคในประเทศ 8.92 บริโภค/อุตสาหกรรม 1.22 ผลผลิต 2.81 บริโภคในประเทศ 0.89 ผลิตเอททานอล 2.5 พลังงาน B7 1.21 ส่งออก 4.15 ส่งออก 33.9 นำเข้า 7.0 สต็อกปลายปี ปกติ 0.25 สต็อกต้นปี 0.49 ผลต่างสต็อก -0.1 พื้นที่ปลูก 7.86 (ล้านไร่) พื้นที่ปลูก 5.09 (ล้านไร่) พื้นที่ปลูก 23.67 (ล้านไร่) 3.1.5 อ้อย 3.1.6 ข้าวโพด 10.8 131.8 8.33 5.16 Domestic Demand consumption and trade 2.9 ผลิตใน ประเทศ 131.8 ผลิตใน ประเทศ 5.0 บริโภคในประเทศ 8.25 ผลิตน้ำตาล ในประเทศ 14.1 ส่งออก 7.9 นำเข้า 0 ส่งออก 0.08 นำเข้า 0.16 Demand Supply พื้นที่ปลูก 11.4 (ล้านไร่) พื้นที่ปลูก 6.71 (ล้านไร่) ปริมาณ : ล้านตัน

3.2 กลไกขับเคลื่อนการบริหารจัดการพืชเกษตรแบบครบวงจรในระดับพื้นที่ 3.2 กลไกขับเคลื่อนการบริหารจัดการพืชเกษตรแบบครบวงจรในระดับพื้นที่  ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผ่านกลไกการขับเคลื่อนในพื้นที่ เพื่อสร้างการรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับพืชเกษตรอย่างครบวงจรไปสู่ประชาชนอย่างยั่งยืน โดยกำหนดกลไกขับเคลื่อนเป็น 3 ระดับ ระดับจังหวัด คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ  ผวจ. และ นอภ. ทำหน้าที่กำกับอำนวยการ และบูรณาการงานของทุกส่วนราชการ/หน่วยงาน ในพื้นที่ รวมทั้งสนับสนุนกระบวนการสร้างการรับรู้ให้กับประชาชนและเกษตรกร โดยให้บรรจุในวาระการประชุมกำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชน ให้ข้อมูลผ่านหอกระจ่ายข่าว หรือสร้างชุดความรู้จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พณ. กษ. อก. ผวจ. ระดับอำเภอ คณะกรรมการบริหารงานอำเภอแบบบูรณาการ นอภ. ระดับตำบล คณะกรรมการหมู่บ้าน ลงพื้นที่สร้างการรับรู้ ข้อมูลแผนการผลิตและการตลาดพืช 6 ชนิด ให้กับประชาชน ปลัดอำเภอ บทบาทภารกิจ 1. อำนวยการ สนับสนุนการขับเคลื่อนแผนการปฏิบัติการ 2. ติดตาม เฝ้าระวัง สถานการณ์ที่จะเป็นปัญหาหรือส่งผลกระทบต่อภาคการเกษตร 3. พิจารณาดำเนินการป้องกัน ควบคุม และแก้ไข โดยบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน 4. ให้กลไกการขับเคลื่อนแต่ละระดับบูรณาการร่วมมือกันให้ครบทุกมิติในแต่ละด้าน กรณีไม่สามารถแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ได้ ให้รายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ เพื่อพิจารณาแก้ไขปัญหาต่อไป 5. ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย หมายเหตุ : จังหวัดสามารถพิจารณาแต่งตั้ง คณะทำงานได้ตามความเหมาะสม

3.3 กรอบระยะเวลาการดำเนินงาน 3.3 กรอบระยะเวลาการดำเนินงาน ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค 1) ประชุมหารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2) มอบหมายกลไกในระดับ จังหวัด/อำเภอ/หมู่บ้าน ดำเนินการ 3) กำหนดแผนการขับเคลื่อนงาน 4) สั่งการ ผวจ. ดำเนินการ 5) บูรณาการข้อมูล / จัดทำชุดข้อมูล 6) เสนอนายกรัฐมนตรี / รองนายกรัฐมนตรีเพื่อทราบ 1) ประชุมหารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2) มอบหมายกลไกในระดับ จังหวัด/อำเภอ/หมู่บ้าน ดำเนินการ 3) กำหนดแผนการขับเคลื่อนงาน 4) สั่งการ ผวจ. ดำเนินการ 5) บูรณาการข้อมูล / จัดทำชุดข้อมูล 6) เสนอนายกรัฐมนตรี / รองนายกรัฐมนตรีเพื่อทราบ 1 กรกฎาคม 2561 2 สิงหาคม 2561 1) ประชุมบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำ ข้อมูลแผนการผลิตและการตลาดพืช 6 ชนิด สำหรับประกอบการพื้นที่สร้างการรับรู้ 3) รายงานผลการดำเนินงาน 1) ประชุมสร้างความเข้าใจให้กับทีมขับเคลื่อน ระดับพื้นที่ 2) คณะกรรมการหมู่บ้าน ลงพื้นที่สร้างการรับรู้ และ ดำเนินการตามกระบวนการสร้างการรับรู้ที่มีอยู่ในพื้นที่ 3) รายงานผลการดำเนินงาน 3 กันยายน 2561 1) สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน 2) เสนอนายกรัฐมนตรี/รองนายกรัฐมนตรีเพื่อทราบ 1) คณะกรรมการหมู่บ้าน ลงพื้นที่สร้างการรับรู้ และ ดำเนินการตามกระบวนการสร้างการรับรู้ที่มีอยู่ในพื้นที่ 2) รายงานผลการดำเนินงาน

กลุ่มงานกิจการพิเศษ สำนักนโยบายและแผน สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย โทร/โทรสาร 0 2221 8095 มท 50034 - 35 Moippb.4@gmail.com