แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการยาต้านไวรัสเอดส์ สปส.
Advertisements

การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
การพิจารณาเลือกชนิด วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค นพ.พรศักดิ์ อยู่เจริญ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค.
VMI (Vendor Managed Inventory)
การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 รายการงบ วงเงิน
การเก็บรักษาและการเบิก-จ่าย วัคซีนเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์
การตั้งค่าวัคซีน.
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การจัดทำรายงาน โครงการนำร่องการให้บริการ วัคซีน LAJE ใน 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน พอพิศ วรินทร์เสถียร กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนฯ สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
ศุภวัฒน์ อิ่มเจริญ ภม.(การจัดการเภสัชกรรม) 15 กุมภาพันธ์ 2555
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
 รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด.
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
ขั้นตอนการชำระเงินสมทบ กองทุนประกันสังคม ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)
Direction of EPI vaccine in AEC era
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
II-9 การทำงานกับชุมชน.
ณ ห้องประชุม 6/5 รพ.นครพิงค์
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
การให้บริการวัคซีนไวรัสโรต้า ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
27 ปี งานกวาดล้างโปลิโอ รณรงค์ OPV ประจำปี
แนวทาง การให้บริการวัคซีนโปลิโอ
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
แนวทางการบริหารจัดการวัคซีน ไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อน ฤทธิ์ สายพันธุ์ SA Lived Attenuated Japanese Encephalitis SA
การพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
เมื่อเข้าสู่โปรแกรมจะแสดงหน้าจอสำหรับตรวจสอบสิทธิผู้ปฏิบัติงาน รหัสที่ใช้ต้องเป็นรหัสนายทะเบียนหรือผู้ช่วยนายทะเบียน และต้องมีสิทธิในการใช้งานฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร.
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
การปรับรหัสวัคซีนในงาน EPI
ส่วนการทะเบียนทั่วไป สำนักบริหารการทะเบียน
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2558
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
โดย ภญ. ปิยะนาถ เชื้อนาค สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
โครงการแลกเปลี่ยนความรู้ การเสวนาแนวทางเพื่อสร้างมาตรฐานในการทำงานของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ ; (การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual) วันที่ 22 มีนาคม.
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
การขออนุมัติดำเนินโครงการ ภายใต้ข้อบังคับฯ 2559
Medication Reconciliation
รูปแบบและขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
แบบมาตรฐานระบบบำบัดน้ำเสียแบบได้ก๊าซชีวภาพ สำหรับฟาร์มสุกร
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
การบริหารระบบลูกโซ่ความเย็น ในระบบยา
การบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ และระบบลูกโซ่ความเย็น
แนวทางปฏิบัติด้านการเงินของ ศบท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
แนวทางการให้บริการ วัคซีน DTP-HB-Hib ปีงบประมาณ 2562
การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑
ข้อมูล EPI จาก HDC ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
ข้อมูลงาน EPI สสจ.อุดรธานี
โดยนางปิยะพร หงษ์เงิน
JHCIS สำหรับงาน EPI ตามมาตรฐานใหม่ 1 ตุลาคม 2558
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA 14-14-2 โรคไข้สมองอักเสบเจอี ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA 14-14-2 (LAJE)

โรคไข้สมองอักเสบเจอี จังหวัดภาคเหนือตอนบน การให้วัคซีน โรคไข้สมองอักเสบเจอี เชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ (LAJE) ปี 2556 จังหวัดภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัด ปี 2558 เขตบริการสุขภาพ 2,5,6 21 จังหวัด ปี 2559 เขตบริการสุขภาพ 3,4,7-12 48 จังหวัด ตั้งแต่ พ.ศ. 2543 สธ. กำหนดให้มีการฉีดวัคซีนเจอีเชื้อตาย ในเด็กอายุ 1 ปีครึ่ง 2 ครั้ง ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน และกระตุ้นอีก 1 ครั้ง เมื่ออายุ 2 ปีครึ่ง ปี 2558 ต่อมาคณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีมติให้ปรับอายุการให้วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีครั้งแรกจาก 1 ปีครึ่ง เป็น 1 ปี เพื่อบูรณาการให้เด็กมารับวัคซีนพร้อมการตรวจสุขภาพและพัฒนาการของเด็ก ปัจจุบันมีวัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ สายพันธุ์ SA 14-14-2 ใช้กันอย่างแพร่หลาย ปี 2555 จึงมีการนำร่องการใช้วัคซีน LAJE ในพื้นที่จังหวัดภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัด ได้แก่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน และพะเยา ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีโรคนี้ชุกชุม ต่อมาในปี 2558 ได้ขยายพื้นที่การให้บริการวัคซีน LAJE ครอบคลุมทุกจังหวัดที่อยู่ในเขตบริการสุขภาพที่ 2, 5 และ 6 รวมทั้งสิ้นจำนวน 21 จังหวัด และในปี 2559 กรมควบคุมโรคและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงได้ดำเนินการขยายพื้นที่การให้บริการวัคซีน LAJE ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครอบคลุมทั้งประเทศ โดยเพิ่มการให้บริการในเขตบริการสุขภาพที่ 3, 4 และ 7-12 ปี 2559 เริ่มให้ LAJE วันที่ 1 พฤษภาคม 2559

ให้ LAJE แก่เด็กอายุครบ 1 ปี (เกิดตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 2558) กลุ่มเป้าหมาย ให้ LAJE แก่เด็กอายุครบ 1 ปี (เกิดตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 2558) เข็มที่ 1 เด็กอายุ 1 ปี เข็มที่ 2 เด็กอายุ 2 ปี 6 เดือน (พร้อมวัคซีน MMR เข็มที่ 2)

การให้ LAJE แก่เด็กอายุเกิน 1 ปี เกิดก่อนวันที่ 1 พ.ค. 2558 ประวัติการได้รับวัคซีนเจอีชนิดเชื้อตาย กำหนดการให้วัคซีนเจอี SA 14-14-2 ครั้งต่อไป ไม่เคยหรือเคยได้รับ 1 เข็ม ฉีด 2 เข็ม ห่างกัน 3-12 เดือน (ขึ้นอยู่กับบริษัทที่ผลิตวัคซีน) เคยได้รับ 2 เข็ม ฉีด 1 เข็ม ห่างจากเข็มที่ 2 เป็นเวลา 12 เดือน เคยได้รับ 3 เข็ม ไม่ต้องให้

การให้ LAJE แก่เด็กอายุเกิน 1 ปี จำง่ายๆ ตาย 1 ได้เป็น 2 ตาย 2 ได้เป็น 1

การให้วัคซีน LAJE ขนาดที่ใช้ ครั้งละ 0.5 มล. ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง

การคาดประมาณกลุ่มเป้าหมาย หน่วยบริการ คาดประมาณการจำนวนเด็กที่ให้บริการ 1. รายชื่อเด็กที่นัด ทั้งเด็กที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบ 2. เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในครั้งที่ผ่านมา 3. เด็กที่ไม่ได้นัดที่อาจเข้ามาขอรับวัคซีน เพื่อคำนวณ ปริมาณวัคซีน ที่ต้องใช้ทั้งหมด การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน ให้เจ้าหน้าที่ประมาณการจำนวนเด็กที่ให้บริการในแต่ละครั้งจาก รายชื่อเด็กที่นัดทั้งเด็กที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบ เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในครั้งที่ผ่านมา เด็กที่ไม่ได้นัดที่อาจเข้ามาขอรับวัคซีน เพื่อคำนวณปริมาณวัคซีน IPV และ OPV ที่ต้องใช้ทั้งหมด แล้วประมาณการวัคซีนตามที่กล่าวในหัวข้อ “แนวทางการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น”

การคาดประมาณกลุ่มเป้าหมาย วัคซีน LAJE ที่ใช้ เป็นชนิด single dose คิดอัตราสูญเสียร้อยละ 1 = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน x 1.01 จำนวนวัคซีน LAJE ที่ใช้ (dose) วัคซีน LAJE ที่ใช้ เป็นชนิด 4 dose คิดอัตราสูญเสียร้อยละ 20 = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน x 1.25 จำนวนวัคซีน LAJE ที่ใช้ (dose)

การเบิกวัคซีน ใช้แบบฟอร์ม ว. 3/1 กรอกข้อมูล เป้าหมาย ยอดคงเหลือยกมา จำนวนผู้รับบริการ จำนวนขวดวัคซีนที่เปิดใช้ โปรแกรมจะคำนวณอัตโนมัติ จำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้ (ขวด) จำนวนวัคซีนที่ขอเบิก (ขวด) อัตราสูญเสียร้อยละ

การเบิกวัคซีน หน่วยบริการ สสอ ฝ่ายเภสัชกรรม รพ ส่งใบเบิก ส่งใบเบิก ตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้อง ตรวจสอบความสอดคล้องของการเบิกให้สัมพันธ์กับจำนวนเด็กที่ให้บริการจริง ตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้อง ตรวจสอบความสอดคล้องของการเบิกให้สัมพันธ์กับจำนวนเด็กที่ให้บริการจริง

การจัดส่งวัคซีน LAJE ครั้งแรก 1 – 14 ของทุกเดือน จัดส่งโดย GPO ตามระบบ VMI 15 – 31 ของทุกเดือน จำนวนวัคซีน LAJE ที่จัดส่ง ใน 3 เดือนแรก GPO จะใช้ค่า ROP และ Max Limit ของวัคซีน JE เชื้อตายไปก่อน ถ้าค่า ROP สูงเกิน แจ้ง สปสช. (02-143-9730)

การจัดเก็บวัคซีน LAJE เก็บในอุณหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส

การจัดทำรายงานผลปฏิบัติงาน บันทึกข้อมูลในฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ฉีดวัคซีน LAJE ครั้งที่ 1 click ไปที่ “JE 1 : Lived attenuated” ฉีดวัคซีน LAJE ครั้งที่ 2 click ไปที่ “JE 2 : Lived attenuated ” print out ทะเบียนการให้บริการ เพื่อตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้อง &เพื่อสำรองเก็บไว้เป็นหลักฐาน JHCIS และ HOSxP ได้เพิ่มช่องวัคซีน LAJE ในรายงานการให้บริการวัคซีนเรียบร้อย ตรวจสอบจำนวนเด็กทั้งหมดที่ได้รับวัคซีน LAJE แล้วรวบรวมข้อมูลเป็นรายเดือน key in ลงใน ว. 3/1 เพื่อเบิกวัคซีนในเดือนต่อไป

รหัสวัคซีน ครั้งที่ฉีด รหัสวัคซีน LAJE ครั้งที่ 1 J11 LAJE ครั้งที่ 2

การจัดทำรายงานผลปฏิบัติงาน LAJE

การจัดทำรายงานผลปฏิบัติงาน LAJE (1 และ2)

การจัดทำรายงานความครอบคลุม การบันทึกในทะเบียนติดตาม การได้รับวัคซีน บันทึก “วันที่เด็กได้รับวัคซีน” “ชนิดของวัคซีนเจอี” “ครั้งที่ได้รับวัคซีนเจอี” สำหรับเด็กที่เคยได้วัคซีนเจอีเชื้อตายมาบ้างแล้ว เมื่อวัคซีนเจอีเชื้อตายหมด ขอให้เจ้าหน้าที่ได้ให้วัคซีน LAJE ต่อเนื่อง โดยบันทึกในทะเบียนติดตามที่จัดทำขึ้นเอง (manual) ประวัติการได้รับวัคซีน เชื้อตายในอดีต การรับวัคซีน LAJE ครั้งถัดไป การบันทึกในทะเบียนติดตาม เจอี 1 เจอี 2 เจอี 3 เคยได้รับ 1 ครั้ง 2 ครั้ง วันที่ได้รับ (เชื้อตาย) (เชื้อเป็น) เคยได้รับ 2 ครั้ง 1 ครั้ง เคยได้รับ 3 ครั้ง ไม่ต้องให้

การจัดทำรายงานความครอบคลุม การได้รับวัคซีน โปรแกรม Hos-xP JE1 JE2 JE3 JL1 JL2

การจัดทำรายงานความครอบคลุม การได้รับวัคซีน โปรแกรม JHCIS JE1 JE2 JE3 LJE 1 LJE2

การจัดทำรายงานความครอบคลุม การได้รับวัคซีน ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนเจอีในเด็กอายุครบ 2 ปี ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนเจอีในเด็กอายุครบ2 ปี = จำนวนเด็กอายุครบ2ปีในพื้นที่ที่ได้รับวัคซีนเจอีครบตามเกณฑ์ x 100 จำนวนเด็กอายุครบ 2 ปี ทั้งหมดในพื้นที่รับผิดชอบ ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนเจอีในเด็กอายุครบ 3 ปี ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนเจอีในเด็กอายุครบ 3 ปี = จำนวนเด็กอายุครบ3ปีในพื้นที่ที่ได้รับวัคซีนเจอีครบตามเกณฑ์ x 100 จำนวนเด็กอายุครบ 3 ปี ทั้งหมดในพื้นที่รับผิดชอบ

การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เกณฑ์การพิจารณาความครบถ้วนของการได้รับวัคซีนเจอีในเด็กที่อายุครบ 2 ปี ประวัติการได้รับวัคซีนเจอี ความครบถ้วน เจอีเชื้อตาย 2 ครั้ง ผ่านเกณฑ์ ได้เจอีเชื้อตาย 1 ครั้งและตามด้วย (LAJE) 1 ครั้ง เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ไม่ผ่านเกณฑ์ ได้รับเจอีเชื้อเป็น (LAJE) 1 ครั้ง ได้รับ (LAJE) 1 ครั้ง ต่อด้วยเจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ไม่เคยได้รับทั้งชนิดเชื้อตายและเชื้อเป็น (LAJE)

การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เด็ก 2 ปี ได้ตาย 2 หรือ เป็น 1 ตาย 1 + เป็น 1 เป็น 1 + ตาย 1 >>>> OK

การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เกณฑ์การพิจารณาความครบถ้วนของการได้รับวัคซีนเจอีในเด็กที่อายุครบ 3 ปี ประวัติการได้รับวัคซีนเจอี ความครบถ้วน เจอีเชื้อตาย 3 ครั้ง ผ่านเกณฑ์ เจอีเชื้อตาย 2 ครั้ง ต่อด้วย LAJE 1 ครั้ง เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ต่อด้วย LAJE 2 ครั้ง เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ต่อด้วย LAJE 1 ครั้ง ไม่ผ่านเกณฑ์ LAJE 2 ครั้ง เจอีเชื้อเป็น LAJE 1 ครั้ง ต่อด้วยเจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ไม่เคยได้รับวัคซีนทั้งชนิดเชื้อตายและเชื้อเป็น (LAJE)

การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เด็ก 3 ปี ได้ตาย 3 หรือ เป็น 2 ตาย 1 + เป็น 2 ตาย 2 + เป็น 1 เป็น 1 + ตาย 1 >>>> OK

AEFI การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับวัคซีน ไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ สายพันธุ์ SA 14-14-2 ระบบปกติ AEFI

อาการภายหลังได้รับวัคซีน (AEFI) * จากแบบบันทึกอาการภายหลังได้รับวัคซีน 2,229 ใบ และหน่วยบริการส่วนใหญ่ให้บริการวัคซีน LAJE พร้อมกับ DTP4 และ OPV4 62.2 % ปกติ 22.5% ไข้ต่ำ 5.6% ปวด บวม แดง ร้อน

สรุป เริ่มให้ LAJE เด็ก1 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 2559 ขนาดที่ใช้ ครั้งละ 0.5 มล. ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ให้ LAJE เข็ม 1 ในเด็ก 1 ปี , เข็ม 2 ในเด็ก 2 ปี 6 เดือน เด็กอายุเกิน 1 ปี >>ตาย 1 ได้เป็นอีก 2 >> ตาย 2 ได้เป็นอีก 1

สรุป เบิก LAJE ตามปกติ LAJE ขนาด 1 โด๊ส อัตราสูญเสีย 1% (X 1.01) เก็บที่อุณหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส

สรุป ความครอบคลุม >>>> OK >>>> OK เด็ก 2 ปี ได้ตาย 2 หรือเป็น 1 ตาย 1 + เป็น 1 เป็น 1 + ตาย 1 ความครอบคลุม >>>> OK เด็ก 3 ปี ได้ตาย 3 หรือเป็น 2 ตาย 1 + เป็น 2 ตาย 2 + เป็น 1 เป็น 1 + ตาย 1 >>>> OK

ขอบคุณค่ะ