สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
Entity-Relationship Model E-R Model
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
Pro/Desktop.
บทที่ 3 จัดทำและนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการของการอธิบาย
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การสร้างฐานข้อมูลใหม่ หมายถึง การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่บน Access สามารถกำหนด ได้ดังต่อไปนี้ ภาพแสดงการสร้างฐานข้อมูลใหม่
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ฐานข้อมูล.
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
Material requirements planning (MRP) systems
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
การทำ Normalization 14/11/61.
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
BC320 Introduction to Computer Programming
Multistage Cluster Sampling
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Basic Input Output System
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
การแก้ไขข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การค้นหาข้อมูลวิจัย ครั้งที่ 1
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
[ บทที่ 2 ] กรอกแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล 3602801 ระบบฐานข้อมูล สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์

เนื้อหา เค้าร่างของฐานข้อมูล สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล ความเป็นอิสระของข้อมูล ประเภทของฐานข้อมูล

เค้าร่างของฐานข้อมูล ในการออกแบบโครงสร้างของฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่เราต้องการจัดเก็บลงในระบบฐานข้อมูล ผู้ใช้จะต้องรู้เกี่ยวกับรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บลงในระบบฐานข้อมูลตามโครงสร้างฐานข้อมูลที่กำหนดมีรายละเอียดและตัวอย่างสคีมา (Schema) และอินสแตนซ์ (Instance)

เค้าร่างของฐานข้อมูล 1. สคีมา สคีมา (Schema) คือ รายละเอียดของโครงสร้างของฐานข้อมูลซึ่งระบุถึงชื่อเอนติตี้ แอททริบิวท์ โดยทั่วไปเค้าร่างของฐานข้อมูลจะไม่เปลี่ยนแปลงบ่อยนัก แต่อาจมีการเปลี่ยนแปลงบ้างในบางครั้ง เช่น เค้าร่างของพนักงาน ได้แก่ รหัสพนักงาน ชื่อ เงินเดือน ตำแหน่ง และแผนก เป็นต้น

เค้าร่างของฐานข้อมูล สคีมาในฐานข้อมูลจะแบ่งออกเป็นระดับตามสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล คือ 1. สคีมาระดับภายนอกอยู่บนสุด หรือระดับวิว(External Schema) เป็นมุมมองที่มีต่อข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคน เป็นสคีมาย่อย (Subschema)

เค้าร่างของฐานข้อมูล 2. สคีมาระดับแนวคิด (Conceptual Schema) เกี่ยวกับมุมมองของข้อมูลลักษณะกลุ่ม เป็นการแปลงรูปมุมมอง (Mapping) จากระดับสูงกว่าไปยังระดับที่ต่ำกว่ากลุ่มมุมมองข้อมูลจากผู้ใช้ทั้งหลายจะเป็นภาพรวม ที่เป็นแนวคิดของข้อมูลทั้งระบบ 3. สคีมาระดับภายใน (Internal Schema) หมายถึง โครงสร้างทางกายภาพในการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลเป็นการแปลงรูปมุมมองจากแนวคิดของข้อมูลทั้งระบบเป็นวิธีการจัดเก็บข้อมูลทางกายภาพ

เค้าร่างของฐานข้อมูล 2. อินสแตนท์ อินสแตนท์ (Instance) คือ ข้อมูลที่ถูกบันทึกลงในฐานข้อมูลในขณะใดขณะหนึ่ง เรียกว่า เมื่อเริ่มกำหนดเค้าร่างของฐานข้อมูลจะยังไม่มีข้อมูลอยู่ คือ เป็นอินสแตนท์ว่างจนกว่าจะมีการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล

เค้าร่างของฐานข้อมูล

สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลเป็นมุมมองแนวความคิดที่ใช้ในการอธิบายถึงรูปแบบและโครงสร้างของข้อมูลในระบบฐานฐานข้อมูล โดยไม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างจริงของระบบฐานข้อมูลนั้นๆ ผู้ใช้ฐานข้อมูลจะมองข้อมูลนี้ในแง่มุมหรือวิวที่แตกต่างกันไปตามจุดประสงค์ของการประยุกต์ใช้งาน โดยไม่จำเป็นต้องสนใจว่ามีลักษณะการจัดเก็บข้อมูลแท้จริงเป็นเช่นไร ระบบฐานข้อมูลจะทำการซ่อนรายละเอียดไว้

สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล

สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล 1. ระดับภายใน ระดับภายใน (Internal Level) เป็นระดับที่มองถึงวิธีการจัดเก็บข้อมูลในระดับฟิซิกคอล ว่ามีรูปแบบและโครงสร้าง การจัดเก็บข้อมูลอย่างไร ซึ่งมีหน้าที่ในการจัดเก็บข้อมูลจริงๆ ในหน่วยความจำ เช่น ดิสก์ว่าอยู่ตำแหน่งใด ซึ่งโดยมากผู้ใช้ทั่วไปไม่มีสิทธิ์เข้ามายุ่งในระดับนี้อาจจะกล่าวได้ว่าสคีมาระดับภายใน (Internal Schemas Level)

สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล พิจารณาการจัดการระบบการเก็บข้อมูลจริง อธิบายฐานข้อมูลในการเก็บทางกายภาพจริงๆ มองข้อมูลโดยมุมมองของระบบจัดการฐานข้อมูล ใช้โครงสร้างข้อมูล (Data Structure) และการจัดระเบียนแฟ้ม (File Organization) ในการอธิบาย

สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล 2. ระดับความคิด ระดับความคิด (Conceptual Level) เป็นระดับของการมองความสัมพันธ์ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูลว่ามีการจัดเก็บข้อมูลอย่างไร มีความสัมพันธ์กับข้อมูลอื่นอย่างไรบ้าง รวมทั้งกฎเกณฑ์ต่างๆ เกี่ยวกับข้อมูล เช่น กฎเกณฑ์ของตัวข้อมูล ความปลอดภัย (security) และความคงสภาพของข้อมูล (integrity)

สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล สคีมาระดับเชิงมโนภาพ (Conceptual Schemas Level) จะเป็นตัวที่ใช้เชื่อม ระหว่างสคีมาระดับภายนอกกับสคีมาระดับภายใน อธิบายฐานข้อมูลในรายละเอียดโดยรวมทั้งหมด เพื่อเชื่อมกับสิ่งที่ผู้ใช้มองรูปแบบข้อมูลความสัมพันธ์ เงื่อนไขต่างๆ รวมถึงความมั่นคงและความถูกต้องของข้อมูลจะถูกเก็บไว้ด้วย

สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล 3. ระดับภายนอก ระดับภายนอก (External Level) คือ หน้าต่างหรือวิว (View) ที่ผู้ใช้ภายนอกมีสิทธิเข้าไปใช้ได้ วิว (View) คือ ส่วนของ ข้อมูลที่ผู้ใช้ทั่วไปมีความสนใจและมีสิทธิที่เข้านำมาใช้ได้จาก สคีมา (Concept Schema) สามารถเรียกสิ่งที่ใช้อธิบายวิวข้อมูลที่ถูกดึงมาจากฐานข้อมูลที่อยู่ในระดับแนวคิด (Conceptual) นี้ว่า External Schema หรือ Subschema หรือ View

ความเป็นอิสระของข้อมูล ความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence) คือ ความอิสระในการแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลโดยไม่มีผลกระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ข้อมูลจากฐานฐานข้อมูล ในกรณีเรียกใช้ข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในระบบแฟ้มข้อมูลจะต้องอาศัยโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อเรียกใช้ข้อมูลในแฟ้มข้อมูลนั้นโดยเฉพาะ เช่น เมื่อต้องการรายชื่อของนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ในสาขาคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้จะต้องโปรแกรมเมอร์จัดทำโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลจากแฟ้มนักศึกษาและพิมพ์รายงานที่แสดงเฉพาะข้อมูลที่ตรงตามเงื่อนไขที่กำหนด

ประเภทของฐานข้อมูล 1. ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น(Hierarchical Database Model) มีลักษณะเป็นลำดับชั้นคล้ายคลึงกับความสัมพันธ์ของโครงสร้างสายการบังคับบัญชาที่พบในองค์กรทั่วไป โดยมีลำดับชั้นลดหลั่นกันลงมาเป็นชั้นข้อมูล

ประเภทของฐานข้อมูล 2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database Model) คล้ายกับฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น แต่ข้อมูลมีความสัมพันธ์กันในลักษณะ many to many

ประเภทของฐานข้อมูล 3. ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (Relational Database Model) เป็นฐานข้อมูลที่ใช้ตารางเพื่อเก็บข้อมูลให้เป็นระเบียบ ตารางเหล่านี้เรียกว่า ตารางความสัมพันธ์ (relations) การออกแบบฐานข้อมูลแบบความสัมพันธ์จะประกอบด้วยตารางที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนักหลายๆ ตารางแต่ละแถวแนวนอนเรียกว่า row ในตารางจะบรรจุข้อมูลเป็นชุดๆ เรียกว่า record ข้อมูล 1 ชนิดในแต่ละชุดเรียกว่า field ในแต่ละตารางต้องมีตัวชี้วัดความสัมพันธ์ key ที่เชื่อมโยงกับตารางอื่นๆ