2. Reflex :-  พบในสัตว์ที่มี CNS  flat worm

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
การเริ่มใช้งาน โปรแกรม นรด. เวอร์ชั่น 2003 และ ติดตั้งโปรแกรม ของ สถานศึกษา การเริ่มใช้งาน โปรแกรม นรด. เวอร์ชั่น 2003 และ ติดตั้งโปรแกรม ของ สถานศึกษา.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี
ผู้วิจัย รุจิรัชช์ญานันท์ ชัยแก้ว
กระบวนการของการอธิบาย
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
โครเมี่ยม (Cr).
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่องท่าทางการทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน สนับสนุนโดยสำนักงานประกันสังคม.
ร่างกายและสมองของนักเรียน รักษาไว้ให้แข็งแรง
ผังงาน..(Flow Chart) หมายถึง...
แนวคิดทางการบริหารการพัฒนา Development Administration
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
แผ่นดินไหว.
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
รายวิชา การบริหารการศึกษา
พฤติกรรมของสัตว์ กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ศาสนาเชน Jainism.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
Supply Chain Management
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

2. Reflex :-  พบในสัตว์ที่มี CNS  flat worm 2.1 Simple reflex = รีเฟลกซ์อย่างง่าย เช่น น้ำลายไหล การกระตุกแขน การกระตุกขา 2.2 Chain of reflexes = รีเฟลกซ์ต่อเนื่อง หรือ Fixed action pattern (FAP) = พฤติกรรมที่มีแบบแผนแน่นอน  พฤติกรรมที่เกิดจากรีเฟลกซ์หนึ่ง เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะกระตุ้นให้เกิดรีเฟลกซ์อื่นๆ ติดตามมาโดยมีแบบแผนแน่นอน

1. การกินอาหารของสัตว์ตามธรรมชาติ  Chain of reflexes ที่เกิดขึ้นมีแบบแผนแน่นอนเป็นขั้นเป็นตอน จึงอาจเรียกเป็น FAP (fixed action pattern) หรือ Instinct (สัญชาตญาณ)  ตัวอย่างพฤติกรรมรีเฟลกซ์ต่อเนื่อง เช่น 1. การกินอาหารของสัตว์ตามธรรมชาติ  การแทะมะพร้าวของกระรอก  การจิกอาหารของไก่  การฮุบเหยื่อของปลา  การตวัดลิ้นจับแมลงของกบ การรวมกันของ FAP + Taxis เรียก Instinctive activity โดยเกิด FAP พร้อมกับ การเคลื่อนไหวที่มีทิศทางแน่นอน เห็นเหยื่อจะหันทั้งตัว  Taxis แสดงพฤติกรรมการจับเหยื่อ (Prey-catching behavior)

 การฟักไข่, การเลี้ยงลูกอ่อน  Migration  การร้องเพลงของนก  การฟักไข่, การเลี้ยงลูกอ่อน  Migration  การร้องเพลงของนก ในนก thrushes ตัวเล็กๆ ถึงแม้ถูกแยกเลี้ยงต่างหากตั้งแต่ฟักออกมา ก็ยังคงร้องเพลงที่เป็นลักษณะประจำพวกได้  FAP จะมีลักษณะเป็น Phylogenetic adaptation ซึ่งมีกลไกของ Co-ordinating control เช่น  นกอีเสือ (Shrinkes) Lanius collurio รู้จักดึงเหล็กใน (Sting) ออกจากตัวผึ้ง ต่อ แตน ก่อนที่จะกินเป็นอาหาร  นกพิราบ Streptopelia reseogrisea เลี้ยงลูกนกในลักษณะที่เหมือนกันทุกตัว

ในแมงมุม Cupiennius salei ยื่นก้นเข้าไปไข่ในรู ปิดรูและคาบไปเก็บ  การสร้างปลอกหุ้มไข่ของแมงมุม ในแมงมุม Cupiennius salei สร้าง cocoon เริ่มจากฐานก่อน และสร้างขอบ แล้วเจาะรูที่ขอบ ยื่นก้นเข้าไปไข่ในรู ปิดรูและคาบไปเก็บ * ถ้าตัดทำลายฐาน cocoon ขณะเริ่มสร้างฐาน มันจะไม่สร้างฐานใหม่และจะสร้างของจนเสร็จและวางไข่ และคาบไปเก็บทั้งๆ ที่ไม่มีไข่  การชักไยแมงมุม * ถ้าฉายแสงให้ต่อมที่สร้างไยแห้งสลายหมด ถึงแม้ไม่มีความสามารถสร้างไย มันก็จะยังแสดงพฤติกรรมการชักไยตามเดิม

Treatment ตาม FAP สร้าง cocoon 3 ชั้น  ในตัวอ่อนผีเสื้อ Platysamia cecropia (Kloot & Williams, 1953) Treatment ตาม FAP ถ้าให้สร้าง cocoon เพียง 2 ชั้นเสร็จแล้ว สร้าง cocoon 3 ชั้น ดึงตัวออกมา วางลงบน cocoon ที่เพิ่งสร้างได้ชั้นเดียว ผล จะสร้าง cocoon ชั้นที่ 3 เลย แทนที่จะ สร้างชั้นที่ 2 ก่อน  มี FAP สร้าง 3 ชั้นแน่นอน

Lorenz & Tinbergen (1938) ศึกษา egg – rolling movement  การตะล่อมไข่กลับเข้ารังของ graylag goose  Instinctive activity Lorenz & Tinbergen (1938) ศึกษา egg – rolling movement ของ graylog goose โดยถ้านำไข่ของตัวเมียที่กกไข่ในรังออกมานอกรัง ตัวเมียตามออกมานอกรังและยื่นปากออกมาเหนือไข่ล้ำไปข้างหน้า ตะล่อมไข่เดินถอยหลังเรื่อยๆ เพื่อกลับเข้ารังและเนื่องจากไข่กลม ไข่จึงกลิ้งไปมา FAP Taxis  ใช้ปากตะล่อมส่ายไปขวาทีซ้ายที

ขณะกำลังแสดงพฤติกรรม * ถ้าเอาไข่ออกไป goose ก็จะใช้ปากตะล่อมแล้วค่อยๆ ถอยเข้ารังโดยไม่มีไข่ (FAP) แต่ไม่มีการตะล่อมส่ายไปขวาทีซ้ายที เพราะไม่มีไข่เป็นสิ่ง กระตุ้น (no taxis)  การเต้นรำของผึ้งเพื่อบอกอาหาร

Hibernation Estivation สุนัข ถ้าได้รับกระดูก ถ้าจะนอน  Courtship behavior  การสร้างรังของสัตว์ Hibernation  การจำศีลของสัตว์ Estivation  FAP จะเกิดขึ้น เมื่อสภาวะภายในร่างกายพร้อมที่จะแสดงออก พร้อมๆ กับที่มีสิ่งกระตุ้น (releasing stimulus) ที่เหมาะสม เช่น สุนัข ถ้าได้รับกระดูก ถ้าจะนอน ในธรรมชาติจะตะกุยพื้นดิน ขุดดินด้วยขาหลัง เพื่อกลบ กระดูกและสามารถฝังกระดูก ได้ ถ้าอยู่บนพื้นคอนกรีต ก็แสดงพฤติกรรมเช่น เดียวกันโดยอัตโนวัติ - ในธรรมชาติจะหมุนไปรอบๆ และตะกุยดินลงไปนอนในหลุม - อยู่บนบ้านก็จะหมุนหลายๆ รอบและตะกุยพื้นจึงนอน

 การค้นหาหัวนมแม่ของทารก เมื่อทารกหิว จะส่ายหัวไปข้างซ้ายที ขวาที และจะหยุดเมื่อปากเจอหัวนมแม่  การกำสิ่งของในมือเด็ก ถ้าเอานิ้วเขี่ยฝ่ามือเด็ก เด็กจะกำนิ้วไว้ทันที โดยเริ่มจากนิ้วกลาง และนิ้วนางก่อน ตามด้วยนิ้วชี้ นิ้วก้อย และนิ้วหัวแม่มือจะเป็นนิ้วสุดท้ายเสมอ  การอพยพย้ายถิ่นของสัตว์ (Migration)

ลักษณะสำคัญของพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ต่อเนื่อง 1. เป็นพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างอัตโนวัติที่มีแบบแผนแน่นอน (Fixed action pattern) และมีลักษณะเฉพาะในสัตว์แต่ละชนิด 2. สามารถแสดงพฤติกรรมออกได้อย่างถูกต้อง แม้ว่าสัตว์นั้นจะถูกเลี้ยงแยกจากเพื่อนร่วมสปีชีส์ก็ตาม 3. พฤติกรรมที่เกิดขึ้น มักจะเป็นการเกิดพร้อมไปกับการเคลื่อนไหวที่มีทิศทางแน่นอน (Taxis) เช่น พฤติกรรมของคางคก ตอนที่จะหาเหยื่อจะแสดงพฤติกรรมการจับเหยื่อออกมา โดยในตอนแรกเมื่อเห็นเหยื่อ เช่น แมลงจะเกิดแทกซิสโดยหันหน้าหาแมลง โดยหันทั้งตัว จากนั้นพฤติกรรมรีเฟลกซ์ต่อเนื่องจะเกิดขึ้น คือ ร้อง และแลบลิ้นออกมาตวัดแมลงเป็นอาหาร 1 แสดงการล่าเหยื่อในกบ 1. เป็นแทกซิส 2. เป็นรีเฟลกซ์ต่อเนื่อง 2

4. พฤติกรรมนี้จะแสดงออกมาได้ต้องขึ้นอยู่กับความพร้อมของร่างกายและอาจถูกเปลี่ยนแปลงได้บ้าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพทางสรีระของสัตว์ สภาพแวดล้อมรอบตัวสัตว์ และประสบการณ์ที่สัตว์แต่ละตัวได้รับ เช่น การสร้างรังของนก เป็นพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ต่อเนื่องที่ไม่จำเป็นจะต้องเรียนรู้ แต่จากการศึกษาพบว่านกอายุมากจะสร้างรังได้ดีกว่านกอายุน้อย 5. เดิมทีเดียวนักชีววิทยาเรียกพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ต่อเนื่องจาก สัญชาตญาณ (Instinct) แต่ในปัจจุบันใช้กันน้อยมาก เพราะความหมายของคำนี้กว้างเกินไป ซึ่งอาจหมายรวมไปถึงพฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิดทุกๆ แบบด้วย