การเขียนโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ความสําคัญของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ (COMPUTER LANGUAGE) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนาภาษากําหนดรหัสคําสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทํางานอุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัส คําสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้านประสิทธิภาพคําสั่งแตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคําสั่งที่มีประสิทธิภาพควบคุมการทํางานตามต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้กําหนดจุดประสงค์ไว้
1. เรื่อง การพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ 1. เรื่อง การพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ 1. ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ ตามหลักวิชาว่าด้วยการวิเคราะห์และออกแบบ ระบบงาน ( SYSTEM ANALYSIS AND DESIGN ) มีการจัดขั้นตอนการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์และ สารสนเทศดังนี้ 1.1 วิเคราะห์ระบบงานหรือปัญหา ( SYSTEM OR PROBLEM ANALYSIS ) รวมถึงรายละเอียดข้อมูลที่ ต้องใช้ โดยการศึกษาระบบงานเดิมอย่างละเอียด 1.2 กำหนดรายละเอียดของความต้องการของผู้ใช้ระบบงาน ( REQUIRE-MENTS SPECIFICATION )
1. เรื่อง การพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ (ต่อ) 1. เรื่อง การพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ (ต่อ) 1.3 ออกแบบขั้นตอนวิธีการทำงานของระบบใหม่ 1.4 ตรวจสอบขั้นตอนวิธีให้ได้ผลตามความต้องการ 1.5 ออกแบบโปรแกรม ( PROGRAM DESIGN ) 1.6 เขียนชุดคำสั่ง ( CODING ) 1.7 ทดสอบโปรแกรม ( TESTING ) และหาที่ผิดพลาด ( DEBUGGING ) 1.8 น าโปรแกรมและระบบงานไปใช้งานจริง ( IMPLEMENTATION OR OPERATION ) 1.9 บำรุงรักษา ติดตามผล แก้ไขปรับปรุง ( SOFTWARE MAINTENANCE AND IMPROVEMENT )
การลําดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน เป็นขั้นตอนวางแผนการทํางานของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลําดับ การควบคุมการทํางาน โดยใช้สัญลักษณที่กําหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทํางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการลําดับขั้นตอนการทํางานด้วยผังงานประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้ 1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้
2. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนําในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลําดับการทํางานได้งาย ไม่สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ทิศทางการทํางานต้องเรียงลําดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 2. ใช้ชื่อหนวยความจํา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 3. ลูกศรกํากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเท่านั้น 4. เส้นทางการทํางานห้ามมีจุดตัดการทํางาน 5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการต่อจุดการทํางานใด ๆ 6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน 7. หากมีคําอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น
3. ประโยชนของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน ดังนี้ 1. ทําให้มองเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก 2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนําไปเขียนคําสั่งได้ทุกภาษา 3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว 4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลําดับการทํางานของระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็น เรื่องการออกแบบระบบงานของแต่ละบุคคล
ในส่วนนี้เป็นการนําเสนอรูปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี้ 1 ในส่วนนี้เป็นการนําเสนอรูปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี้ 1.) การเขียนผังงานแบบเรียงลําดับ แสดงขั้นตอนการทํางานตามลําดับ โดยไม่มีทางแยกการ ทํางานแต่อย่างใด เช่น 2.) การเขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทํางาน แสดงขั้นตอนการทํางานที่มีลักษณะกําหนด เงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบสรุปว่าจริงหรือเท็จ เพื่อเลือกทิศทางประมวลผลคําสั่งที่ได้ กําหนดไว้ เช่น รวบรวมโดย นางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี ตําแหน่ง ผู้ชํานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล 3.) การเขียนผังงานตรวจสอบเงื่อนไขก่อน วนซ้ำแสดงขั้นตอนการทํางานที่มีลักษณะกําหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวนซ้ำหรือออกจากการวน ซ้ำเช่น 4.) การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซ้ำแสดงขั้นตอนการทํางานที่มีลักษณะ ทํางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกําหนดเงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือกทิศ ทางการวนซ้ำหรือออกจากการวนซ้ำ
กรณีศึกษาวิเคราะห์ระบบงานและผังงาน การวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นและเขียนลำดับการทำงานด้วยผังงานโปรแกรม เพื่อใช้ประมวลผลระบบงานพื้นฐาน ประมวลผลแบบไม่มีเงื่อนไข ประมวลผลแบบมีเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจเลือกทางทำงาน ประมวลผลลักษณะวนซ้ำ การประมวลผลแบบไม่มีเงื่อนไข •หมายถึงการทำงานแบบที่เรียงลำดับ มีการรับค่า บันทึกค่า ประมวลผล และแสดงผล
ตัวอย่างการทำงานที่มีลำดับ REPORT AVERAGE ตัวอย่างการทำงานที่มีลำดับ REPORT AVERAGE ************************************************ CODE (รหัสพนักงาน) = …………… NAME (ชื่อพนักงาน) = …………… SUMMIT (ยอดขาย) = …………….. NUMBER (จำนวนสินค้า) =…………... ********************************************************* AVERAGE (ค่าเฉลี่ยยอดขาย) = ………….
ตัวอย่างการกำหนดชื่อและชนิดตัวแปร
ลำดับการทำงานด้วยผังโปรแกรม กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบไม่มีเงื่อนไข ลำดับขั้นตอนการทำงาน 1) ป้อนข้อมูลเลขจำนวนเต็ม 2 จำนวนทางแป้นพิมพ์ 2) คำนวณผลรวมของเลข 2 จำนวนตามสมการ SUM = NUMBER_1 + NUMBER_2 3) พิมพ์ผลลัพธ์ที่ได้ออกทางหน้าจอภาพ 4) จบการทำงาน ลำดับการทำงานด้วยผังโปรแกรม
ลำดับขั้นตอนการทำงานด้วยผังงานโปรแกรม กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบมีเงื่อนไขวนซ้ำ ลำดับขั้นตอนการทำงาน 1) กำหนดข้อมูลตัวเลขจำนวนเต็มเท่ากับ 5 ในตัวแปร N 2) เปรียบเทียบเงื่อนไข N > 0 ถ้าจริง: คำนวณสมการ N = N – 1 แล้วกลับไปเปรียบเทียบเงื่อนไขข้างต้น 3) จบการทำงาน
ลำดับการทำงานด้วยผังงานโปรแกรม
คณะผู้จัดทำ 1.นางสาว ปพิชญา เที่ยงตรง เลขที่12 2.นางสาว พิชณา ไกรรอด เลขที่15 3.นางสาว สุทธิดา ศรีแดง เลขที่16 4.นางสาว กราลภา สีหวัลลภ เลขที่17 5.นางสาว กวิณทิพย์ เหมือนชู เลขที่18 6.นางสาว ทิพวรรณ บุญเยี่ยม เลขที่34 ชั้นม.4/5 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม เป็นส่วนหนึ่งของวิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรม (ง30205) โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี