หลักของเลอชาเตอลิเอ Henri Le Châtelier (1850-1936), a French chemist, formulated a principle that serves as a useful qualitative guide to equilibrium.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมดุลเคมี.
Advertisements

ADJECTIVE !!!.
Green’s Theorem ทฤษฎีบทของกรีน.
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
ความเป็นเบสของ Amines(Basicity of Amines)
ปฏิกิริยาจัดเรียงตัว
3. Hinzberg test เป็นปฏิกิริยาของ Amines
ผลของหมู่แทนที่หมู่แรกต่อปฏิกิริยาแทนที่ของเบนซีน
พลังงานอิสระ (Free energy)
BIOGEOCHEMICAL CYCLE.
7.3 Example of solution of Poisson’s Equation
2NO 2 = N 2 O 4 ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ทดลองเพื่ออะไร.
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
Tips : หลักการในการออกแบบฐานข้อมูล
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
5.Hofmann Elimination ใช้ปฏิกิริยานี้ในการวิเคราะห์สูตรโครงสร้าง
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
Effect of Temperature dH = H dT = CpdT T Constant presure
การทดลองที่ 3 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
Copyright © 2011 Self-access Learning Centre, KMUTT Speaking Web Manual.
SERVICE PLAN สาขาศัลยกรรม จังหวัดกาฬสินธุ์. การดำเนินงานปี 2557 KPI  Refer out รพ. แม่ข่าย (M2, F1) < 40%  รพ. แม่ข่าย (M2, F1) ผ่าตัดไส้ติ่ง เพิ่มขึ้น.
สุขสันต์เทศกาลบะจ่าง
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
สัญญา หลักประกันและ การบริหารสัญญา
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
Introduction to Electrochemistry
พื้นฐานการเขียนแบบทางวิศวกรรม
อินทรียวัตถุในดิน (Soil Organic Matter).
สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium)
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law (ตอน 02)
สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (environmental and quality of life)
การเมืองการปกครองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เบื้องต้น)
การบอกสีของสิ่งของ. การบอกสีของสิ่งของ 东盟(Dōngméng) 十(shí) 国(guó) 的(de) 地图(dìtú)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค
ตอนที่ 2 ขอบเขตการบังคับใช้ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
ต่อมเอ๊ะ! กับ คำตอบสุดท้าย
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
สมดุลเคมี.
มองรัฐและอุตสาหกรรมไทยผ่านกรอบ Ha-Joon Chang
ดร.อัญชลี ประกายเกียรติ
ปรัชญากฎหมายเชิงประวัติศาสตร์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
การตรวจเลือดเพื่อวินิจฉัยโรคมาลาเรีย
ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
Present Simple Tense.
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
ตารางธาตุ.
การหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
122351/ Soil Fertility and Plant Nutrition
แนวคิดจิตสาธารณะในมิติเยาวชน
ปัจจัยต่างๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีและการพัฒนา ที่มีผลกระทบกับทรัพยากร
Concept behind VSEPR Molecular geometries Lecture 25: VSEPR
ปุ่มใส+MC.
อนุพันธ์ของเวคเตอร์ อนุพันธ์ธรรมดาของเวคเตอร์ (Ordinary of Vectors)
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ ณ ห้องประชุม บก.ยศ.ทร. ชั้น 2
นิยาม แรงลอยตัว คือ ผลต่างของแรงที่มาดันวัตถุ
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
กฎหมายอาญาภาคความผิด
Determine the moment about point A caused by the 120 kN
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักของเลอชาเตอลิเอ Henri Le Châtelier (1850-1936), a French chemist, formulated a principle that serves as a useful qualitative guide to equilibrium. “เมื่อระบบที่อยู่ในภาวะสมดุลถูกรบกวนโดยการเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลของระบบ ระบบจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่จะลดผลของการรบกวนนั้น เพื่อให้ระบบเข้าสู่ภาวะสมดุลอีกครั้ง”

หลักของเลอชาเตอลิเอ ; ความเข้มข้น จากการศึกษาปฏิกิริยาต่อไปนี้ เมื่อเติม Fe(NO3)3 พบว่าสารละลายมีสีแดงเข้มขึ้น เมื่อเติม NH4SCN พบว่าสารละลายมีสีแดงเข้มขึ้น

หลักของเลอชาเตอลิเอ เมื่อเติม Na2HPO4 พบว่าสารละลายมีจางลง เนื่องจากเกิดปฏิกิริยา ดังนี้

หลักของเลอชาเตอลิเอ

หลักของเลอชาเตอลิเอ ; ความเข้มข้น การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร ไม่มีผลต่อค่าคงที่สมดุลแต่จะมีผลต่อตำแหน่ง ของสมดุล โดยทำให้ทิศทางของระบบเปลี่ยนไป จากปฏิกิริยาต่อไปนี้ A + B C + D เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ A หรือ B สมดุลจะเลื่อนทาง.................... ลดความเข้มข้นของ A หรือ B สมดุลจะเลื่อนทาง..................... เพิ่มความเข้มข้นของ C หรือ D สมดุลจะเลื่อนทาง.................... ลดความเข้มข้นของ C หรือ D สมดุลจะเลื่อนทาง.....................

หลักของเลอชาเตอลิเอ Ex. จากปฏิกิริยาต่อไปนี้ A + B C 1. สมดุลจะเลื่อนทาง ............................. 2. เมื่อเทียบกับสมดุลเก่า จำนวนโมล และความเข้มข้นของสารแต่ละตัวจะ เพิ่มขึ้น หรือลดลง 3. ค่าคงที่สมดุลจะเป็นอย่างไร ....................................... A B C จำนวนโมล ความเข้มข้น เพิ่มขึ้น ลดลง ลดลง เพิ่มขึ้น ลดลง ลดลง ไม่เปลี่ยนแปลง

หลักของเลอชาเตอลิเอ ; ความดัน จากการศึกษาปฏิกิริยาในระบบปิดต่อไปนี้ เมื่อกดก้านหลอดฉีดยา (ลดปริมาตร) แก๊สมีสีเข้มขึ้นชั่วขณะหนึ่ง แล้วจางลงเล็กน้อย และมีสีคงที่ เมื่อดึงก้านหลอดฉีดยาขึ้น สีของแก๊สจะจางลง และค่อยๆเข้มขึ้นเล็กน้อย และในที่สุดจะคงที่

หลักของเลอชาเตอลิเอ a) ก่อนกดก้านหลอดฉีดยา b) ทันทีที่กดก้านหลอดฉีดยา c) หลังกดก้านหลอดฉีดยาค้างไว้ 15 วินาที

หลักของเลอชาเตอลิเอ สำหรับปฏิกิริยาที่มีจำนวนโมลรวมของแก๊สที่เป็นสารตั้งต้นเท่ากับจำนวนโมลรวมของแก๊สที่เป็นผลิตภัณฑ์ การเปลี่ยนแปลงความดันจะไม่มีผลต่อการรบกวนสมดุล เช่น

หลักของเลอชาเตอลิเอ ; ความดัน การเปลี่ยนแปลงความดัน หรือปริมาตร ไม่มีผลต่อค่าคงที่สมดุล และมีผลต่อตำแหน่งของสมดุล เมื่อระบบเป็นก๊าซเท่านั้น ถ้าเพิ่มความดัน หรือลดปริมาตร สมดุลจะเลื่อนทาง ..................... ถ้าลดความดัน หรือเพิ่มปริมาตร สมดุลจะเลื่อนทาง ..................... ถ้าจำนวนโมลเท่ากันการ หรือลดความดัน ..................................... ในกรณีที่ปริมาตรคงที่ การเพิ่มความดันโดยเติมก๊าซเฉื่อย........................... โมลน้อย โมลมาก ไม่มีผล ไม่มีผล

หลักของเลอชาเตอลิเอ ; อุณหภูมิ จากการศึกษาปฏิกิริยาในระบบปิดต่อไปนี้ เมื่อจุ่มหลอดที่บรรจุแก๊สไว้ในน้ำเย็น แก๊สจะมีสีจางกว่าเดิม เมื่อจุ่มหลอดที่บรรจุแก๊สไว้ในน้ำร้อน แก๊สจะมีสีเข้มกว่าเดิม

หลักของเลอชาเตอลิเอ

หลักของเลอชาเตอลิเอ ความเข้มข้นของสารและค่าคงที่สมดุล ณ อุณหภูมิต่างๆ ของปฏิกิริยา N2O4 (g) + พลังงาน 2NO2 (g)

หลักของเลอชาเตอลิเอ ปฏิกิริยาการสลายตัวของ N2O4 เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน สามารถเขียนกราฟได้ดังนี้

หลักของเลอชาเตอลิเอ ความเข้มข้นของสารและค่าคงที่สมดุล ณ อุณหภูมิต่างๆ ของปฏิกิริยา N2 (g) + 3H2 (g) 2NH3 (g) + พลังงาน

หลักของเลอชาเตอลิเอ ปฏิกิริยาการเกิด NH3 เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน สามารถเขียนกราฟได้ดังนี้

หลักของเลอชาเตอลิเอ ; อุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ มีผลต่อระบบสมดุลมาก และสมดุลจะเลื่อนไปทางใดนั้น ขึ้นกับว่าเป็นปฏิกิริยาดูด หรือคายความร้อน นอกจากนั้น ยังมีผลต่อค่าคงที่สมดุลอีกด้วย จากปฏิกิริยา A(g) B(g) ปฏิกิริยาดูดความร้อน (∆H > 0) เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ สมดุลจะเลื่อนทาง...................... ค่า K จะ................... ลดอุณหภูมิ สมดุลจะเลื่อนทาง....................... ค่า K จะ................... เพิ่มขึ้น ลดลง

หลักของเลอชาเตอลิเอ ; อุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ มีผลต่อระบบสมดุลมาก และสมดุลจะเลื่อนไปทางใดนั้น ขึ้นกับว่าเป็นปฏิกิริยาดูด หรือคายความร้อน นอกจากนั้น ยังมีผลต่อค่าคงที่สมดุลอีกด้วย จากปฏิกิริยา A(g) B(g) ปฏิกิริยาดูดความร้อน (∆H < 0) เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ สมดุลจะเลื่อนทาง...................... ค่า K จะ................... ลดอุณหภูมิ สมดุลจะเลื่อนทาง....................... ค่า K จะ................... ลดลง เพิ่มขึ้น

หลักของเลอชาเตอลิเอ ; อุณหภูมิ Ex. จากปฏิกิริยาต่อไปนี้ A + B C เป็นปฏิกิริยา ดูดความร้อน ถ้าสมดุลถูกรบกวน โดยลดอุณหภูมิ 1. สมดุลจะเลื่อนทาง ............................. 2. ค่าคงที่สมดุลจะเป็นอย่างไร ....................................... ลดลง