ภัยคุกคามกับการรักษาความปลอดภัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Ei CompendexWeb ภัทร์ภูรี จงเฟื่องปริญญา
Advertisements

ภัยคุกคามรูปแบบเดิม TRADITIONAL THREATS
ทฤษฎีโครงสร้าง - หน้าที่ (Structural Functionalism)
What SRRT/IHR should be able to……
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและการวิเคราะห์
1 1 Olympic 1 The ancient Olympic Games began in Greece in 776 B.C.E and were held every four years until 393 C.E. It wasn’t until about 1,500 years.
พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ. งบประมาณในการพัฒนามหาวิทยาลัยมีจำกัด การผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาที่ไม่เป็นไปตามความ ต้องการของประเทศ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ.
โครงการ ประชุมเชิง ปฏิบัติการ ขยายเครือข่าย เรื่อง... “ การจัดระบบบริการ แบบครบวงจร ( o ne s top c risis c enter) สำหรับเด็กและสตรีที่ได้รับ ความรุนแรง.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
The Brief (global) History of the Un-sustainabilities
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : การรักษาความปลอดภัยข้อมูล Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
แสง เสียง และรังสี ในชีวิตประจำวัน
วิธีการแก้ไขและเพิ่มเติมข้อมูลด้านขนาดสินค้า ในระบบ Seller Center
งานสารบรรณ บุญช่วย แสงตะวัน.
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
แผนปฏิบัติการยึดคืน พัฒนา และจัดสรรพื้นที่
Chapter 3 The Law of Treaties
Knowledge Audit and Analysis
วันชัย รุจนวงศ์ อธิบดีอัยการสำนักงานต่างประเทศ สำนักงานอัยการสูงสุด
ประวัติศาสตร์โลกยุคใหม่
เอกสารรายวิชา: : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
หลักสิทธิมนุษยชนกับการดำเนินคดีที่เป็นธรรม
กฎหมายอาญาระหว่างประเทศ International Criminal Law
ประเด็น แหล่งทุน โครงการวิจัย ระบบการดูแลผู้สูงอายุ วช.
สำนักงานวิจัยนวัตกรรมและพันธมิตร มจธ.
Chapter 2 Subjects of International Law
8 แนวทางเพื่อบรรลุเป้าหมายธุรกิจที่มี CSR
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
อุดมการณ์การเมืองในระบบรัฐธรรมนูญไทย
พลังงาน (Energy).
องค์การระหว่างประเทศ น.อ.กฤษฎางค์ สุทัศน์ ณ อยุธยา
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
โดย พระมหาปรีชา ปภสฺสโร พระวิทยากร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มองชุมชนไทยผ่านกรอบ Amartya Sen
ความหมายของการสื่อสาร
Legal Phenomena: Law & Social Change
Globalization and the Law
รัฐสมัยใหม่ ดินแดนและอำนาจอธิปไตย
สไลด์การอภิปรายทิศทางฯงานสิทธิฯของพม.
25/02/62 Equality Human dignity Human Rights Pitak kerdhom.
หลักการและแนวทาง การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาและการบริหารราชการ ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค.
กฎหมายอาญา(Crime Law)
แนวบรรยาย เรื่อง หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง
วิชา กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต
ฉัตรชัย นิติภักดิ์ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองกลาง
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย... โกมินทร์ อินรัสพงศ์
รัฐสมัยใหม่ ดินแดนและอำนาจอธิปไตย
มิติทางสังคมและจริยธรรมสำหรับนักเทคโนโลยีสารสนเทศ
เวลาและสถานที่ ในการใช้กฎหมายอาญา
ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงถึง 11
การบัญชีบริหารสิ่งแวดล้อม (Environmental Management Accounting)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รุจิภาส โพธิ์ทองแสงอรุณ
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
ปฏิทิน 2561 Calendar 2018 วันสำคัญที่เกี่ยวข้อง ด้านสิทธิมนุษยชน ตามที่องค์การสหประชาชาติ (UN) กำหนด Rights and Liberties Protection Department.
Review - Techniques of Environmental Law
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
Integrated Information Technology
Third World Party Convention 15 December 2019, Kathmandu, Nepal
กฤษณ์พชร โสมณวัตร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วันสำคัญที่เกี่ยวข้องด้านสิทธิมนุษยชน ตามที่องค์การสหประชาชาติ (UN) กำหนด Calendar 2019 ปฏิทิน 2562.
สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
บ่อเกิดแห่งสิทธิประเภทของสิทธิเสรีภาพสิทธิมนุษยชน สิทธิพลเมือง
วิชากฏหมายทะเล The Law of the Sea
* 07/16/96 Next *.
Third World Party Convention 15 December 2019, Kathmandu, Nepal
Principles of codification
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภัยคุกคามกับการรักษาความปลอดภัย

ภัยคุกคามรูปแบบเดิม TRADITIONAL THREATS COLD WAR ERA ยุคสงครามเย็น การจารกรรม ESPIONAGE การก่อวินาศกรรม SABOTAGE การบ่อนทำลาย SUBVERSION ผู้ดำเนินการเป็น รัฐ STATE ACTORS

การดำเนินการของฝ่ายตรงข้าม ภัยคุกคามรูปแบบเดิม การจารกรรม ความลับ วินาศกรรม สถานที่ บ่อนทำลาย บุคคล

Six clusters of threats Kofi Annan war between States; violence within States, including civil wars, large-scale human rights abuses and genocide; poverty, infectious disease and environmental degradation; nuclear, radiological, chemical and biolagical weapons; terrorism; and transnational organized crime.

ภัยคุกคาม การป้องกัน ภัยคุกคามรูปแบบเดิม ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ มาตรการเชิงรับ มาตรการเชิงรุก

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ. ศ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2552 “ระเบียบ รปภ.52”

การจะเข้าร่วมเป็นประเทศสมาชิก สปอ. : SEATO ระบบราชการต้องมีมาตรฐานการ รปภ. (เพื่อปฏิบัติและพิทักษ์รักษาข้อมูลของประเทศสมาชิก)

ระเบียบ ฯ 2509 ระเบียบ รปภ. 2511 ระเบียบ รปภ. 2517 ระเบียบ รปภ. 2552

ระเบียบ รปภ.2517 การ รปภ.เกี่ยวกับบุคคล การ รปภ.เกี่ยวกับเอกสาร การ รปภ.เกี่ยวกับสถานที่ การ รปภ.ในการประชุมลับ

วิวัฒนาการทางวิชาการด้าน รปศ. พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ 2540 กำหนดให้ราชการ เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น ยกเลิกการ รปภ.เกี่ยวกับเอกสารตามระเบียบ รปภ.2517 ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544

ระเบียบ รปภ. 2552 ใช้ต่อหน่วยงานของรัฐ ระเบียบ รปภ. 2552 ใช้ต่อหน่วยงานของรัฐ ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา และหน่วยงานอื่นใดของรัฐ อาจนำระเบียบนี้ไปใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ 4 , 14

การ รปภ.แห่งชาติ หมายถึง มาตรการและการดำเนินการที่กำหนดขึ้นเพื่อพิทักษ์รักษา และคุ้มครองป้องกันสิ่งที่เป็นความลับ หน่วยงานของรัฐ จนท.ของรัฐ และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ให้พ้นจากการรั่วไหล การจารกรรม การก่อวินาศกรรม การบ่อนทำลาย การก่อการร้าย การกระทำที่เป็นภัยต่อความมั่นคง และผลประโยชน์แห่งรัฐ และการกระทำที่เป็นการเปิดเผยสิ่งที่เป็นความลับของทางราชการ ข้อ 4

กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวกับการ รปภ.ปัจจุบัน การ รปภ.เกี่ยวกับบุคคล การ รปภ.เกี่ยวกับสถานที่ การ รปภ.การประชุมลับ ระเบียบ รปภ.52 พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544

ผู้รักษาการตามระเบียบฯ ให้ นายกรัฐมนตรี รักษาการตามระเบียบนี้ (ข้อ 6)

คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ กรช. กำหนด นโยบาย แนวทางปฏิบัติ วินิจฉัยปัญหา ปรับปรุง แก้ไข ออกประกาศ

สมช.เป็น สนง.เลขานุการ ข้อ 19 คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ “กรช.” ประธาน รมต.ที่มอบหมาย (รองฯสุเทพ เทือกสุบรรณ) เลขาธิการนายกรัฐมนตรี เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ปลัด นร., กห., กค., กต., คค., ICT, มท. เลขาธิการกฤษฎีกา,ผอ.สงป.,ผบ.ทบ. ทร. ทอ., ผบ.ตร. เจ้ากรม ขว. ทหาร. ผอ.คณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร ลมช. ผอ.สขช. ผบ.ศรภ. ผบช.ส. กก./เลขานุการ กก./ผช.เลขานุการ สมช.เป็น สนง.เลขานุการ ข้อ 19

องค์การรักษาความปลอดภัย ข้อ 7 ฝ่ายพลเรือน สำนักข่าวกรองแห่งชาติ ฝ่ายทหาร ศูนย์รักษาความปลอดภัย ฝ่ายตำรวจ กองบัญชาการตำรวจสันติบาล

“หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ” ความรับผิดชอบในการ รปภ.ภายใน หน่วยงานของรัฐ “หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ” ข้อ 8

ต้องทำตามระเบียบ รปภ.52 ด้วย หน่วยงานของรัฐที่สัญญา/มอบหมาย เอกชน ดำเนินการเกี่ยวกับการ รปภ. ผู้ได้รับมอบหมาย ต้องทำตามระเบียบ รปภ.52 ด้วย ข้อ 8

มีหน้าที่รับผิดชอบจัดการอบรม ให้ จนท.ของรัฐ หน่วยงานของรัฐ มีหน้าที่รับผิดชอบจัดการอบรม ให้ จนท.ของรัฐ ได้ทราบโดยละเอียดถึงความจำเป็น และมาตรการของ การ รปภ. และ อบรมเพิ่มเติมตามโอกาสอันสมควร ข้อ 12

จนท.ควบคุมการรักษาความปลอดภัย จนท.ที่ได้รับการแต่งตั้ง และมอบหมายจากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ เพื่อทำหน้าที่ดำเนินการ ควบคุม กำกับดูแล ตลอดจนให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย ของหน่วยงานนั้น ข้อ 12

ส่ง รปภ. 1 และผลการตรวจสอบ ให้องค์การรักษาความปลอดภัย หัวหน้าส่วนราชการ จัดให้มีการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์ โดยทำหนังสือส่ง หัวหน้า สน./สภ. ภูมิลำเนาของผู้นั้น ตรวจสอบพิมพ์ลายนิ้วมือ โดยระบุว่าตรวจสอบประกอบการบรรจุเข้ารับราชการ ส่ง รปภ. 1 และผลการตรวจสอบ ให้องค์การรักษาความปลอดภัย

การดำเนินการ รปภ.บุคคล ตรวจสอบประวัติ อบรม รปภ. กำหนดระดับความไว้วางใจ

ปกปิดเป็นข้อยกเว้น พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.2540 เปิดเผย สถาบันพระมหากษัตริย์ ความมั่นคงของประเทศ การบังคับใช้กฎหมาย ความเห็นภายใน ความปลอดภัยของบุคคล ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล กม.หรือเจ้าของข้อมูลกำหนด เปิดเผย เป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น

การปฏิบัติตามระเบียบ ว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 การปฏิบัติตามระเบียบ ว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544

ความเสียหายหากข้อมูลข่าวสารลับรั่วไหล การดำเนินการตามภารกิจไม่บรรลุเป้าหมาย การแต่งตั้งบุคคลสำคัญ ข้อสอบ ฯลฯ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารลับก่อนกำหนด จะมีผลกระทบต่อหน่วยงาน ความมั่นคง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ เป็นอันตรายต่อความปลอดภัยของบุคคล ฯลฯ

ผู้รับผิดชอบควบคุมข้อมูลข่าวสารลับ หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ แต่งตั้ง นายทะเบียนข้อมูลข่าวสารลับ และผู้ช่วยฯ ผู้กำหนดชั้นความลับในหน่วยงาน ผอ.สำนักอำนวยการ/เลขานุการกรม นายทะเบียนฯ ระดับ สำนัก/กรม ระดับสำนักต่าง ๆ นายทะเบียนฯ/ผู้ช่วยฯ ระดับกองต่าง ๆ ระดับหน่วยงานเทียบเท่า

องค์ประกอบในการกำหนดชั้นความลับ - ความสำคัญของเนื้อหา - แหล่งที่มาของข้อมูล - วิธีการนำไปใช้ประโยชน์ - จำนวนบุคคลที่ควรทราบ - ผลกระทบหากมีการเปิดเผย - หน่วยงานเจ้าของเรื่อง/ผู้อนุมัติ

ชั้นความลับของข้อมูลข่าวสารลับ แบ่งเป็น 3 ชั้น การแสดงชั้นความลับ ชั้นความลับของข้อมูลข่าวสารลับ แบ่งเป็น 3 ชั้น - ลับที่สุด (TOP SECRET) - ลับมาก (SECRET) - ลับ (CONFIDENTIAL)

ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐกำหนดมาตรการเพื่อป้องกันการละเมิดหรือละเลยไม่ปฏิบัติตามมาตรการ รปภ. ข้อ 50

จนท. รัฐผู้พบเห็นหรือทราบการละเมิด การ รปภ จนท.รัฐผู้พบเห็นหรือทราบการละเมิด การ รปภ.ต้องดำเนินการเบื้องต้นเพื่อลดความเสียหาย รายงาน ผบ. จนท.ควบคุม รปภ. หรือเจ้าของเรื่องเดิมโดยเร็ว ข้อ 51

ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544

ระดับของการ รปภ.เกี่ยวกับสถานที่ มาตรการ รปภ. แต่ละหน่วยงานจะเข้มงวด หรือแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความสำคัญของภารกิจ สิ่งที่เป็นความลับ มูลค่าทรัพย์สิน และอาคารสถานที่

แนวคิดในการวางมาตรการ รปภ. ต้องวิเคราะห์เป้าหมาย สร้างระบบการรักษาความปลอดภัย

ข้อพิจารณาในการวางมาตรการ รปภ.สถานที่ ๑. ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่จะต้องนำมาพิจารณาในมาตราการ รปภ. - ความสำคัญของภารกิจและสิ่งที่จะต้อง รปภ. - สภาพของสถานที่ พื้นที่ที่จะต้อง รปภ. - ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ - สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ - อุดมการณ์ทางการเมืองของประชาชนในพื้นที่ - พฤติการณ์ของฝ่ายที่เป็นศัตรู ขีดความสามารถ วิธีที่ศัตรูจะนำมาใช้ - การสนับสนุนจากส่วนราชการอื่น

ควรพิจารณาด้านการ รปภ.ตั้งแต่ขั้นการออกแบบ ๒. การวางมาตรการต้องเหมาะสมกับแต่ละพื้นที่ เพราะปัจจัยที่เกี่ยวข้องของพื้นที่แต่ละแห่ง ไม่เหมือนกัน ๓. ในการออกแบบก่อสร้างสถานที่ที่สำคัญ หรือมีสิ่งที่เป็นความลับที่จะต้องพิทักษ์รักษา ควรพิจารณาด้านการ รปภ.ตั้งแต่ขั้นการออกแบบ

ภยันตรายที่ควรพิจารณาเกี่ยวกับสถานที่ ภยันตรายที่เกิดจากปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม ลมพายุ ฟ้าผ่า แผ่นดินไหว ภยันตรายที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ 1. โดยเปิดเผย : การเดินขบวน การจลาจล 2. ไม่เปิดเผย (ทางลับ) : การโจรกรรม การจารกรรม การก่อวินาศกรรม ฯลฯ

มาตรการ รปภ.สถานที่ คำจำกัดความ มาตรการที่กำหนดขึ้นเพื่อพิทักษ์ รักษาให้ความปลอดภัยแก่ ที่สงวน อาคาร และสถานที่ของส่วนราชการ ตลอดจนวัสดุ อุปกรณ์ เจ้าหน้าที่และเอกสารในอาคารสถานที่ดังกล่าวให้พ้นจากการโจรกรรม การจารกรรม และการก่อวินาศกรรม หรือเหตุอื่นใด อันอาจทำให้เสียสมรรถภาพในการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการได้

มาตรการการ รปภ.สถานที่ เครื่องกีดขวาง ระบบแสงสว่าง เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย,เวร รปภ.ประจำวัน การควบคุมบุคคลและยานพาหนะ การจัดพื้นที่ที่มีการรักษาความปลอดภัย การป้องกันอัคคีภัย มาตรการเสริมการ รปภ. การตรวจสอบระบบ รปภ. และการรายงาน

จนท.รปภ.สถานที่ ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่เวรรักษาความปลอดภัยประจำวัน นายตรวจเวรรักษาความปลอดภัยประจำวัน จนท.ตร.รักษาการณ์ + ยามรักษาการณ์ จนท.อื่น ๆ ที่ทำให้การ รปภ.มีประสิทธิภาพ

แนวทางปฏิบัติเมื่อพบเห็นสิ่งที่น่าสงสัยว่าเป็นวัตถุระเบิด ควรปฏิบัติดังนี้