ความรู้พื้นฐานด้านระบาดวิทยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
Advertisements

หลักประกันสุขภาพไทย เป็นอย่างไรในสายตานานาชาติ
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
พลุและดอกไม้ไฟ.
วันที่ 30 พฤษภาคม 2560 และ 20 มิถุนายน 2560
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
เภสัชกรหญิงหทัยรัตน์ โคตรสมพงษ์ ภบ., วท.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร)
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
แผนปฏิบัติการ เร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ
รู้เท่าทัน... พนมพร ห่วงมาก พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
วันอังคารที่ 6 มีนาคม พ. ศ เวลา น
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
การใช้คู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เด็กอายุ 2-15 ปี
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
บทบาทของ สถ. ในการสนับสนุน การดำเนินงานถ่ายโอนภารกิจ
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
แนวทางปฏิบัติ กรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี ด้อยสิทธิ์/ต่างด้าว
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
สิทธิรับรู้ของประชาชน
โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
วัคซีนป้องกันเอชพีวี
นโยบายการดำเนินงาน PrEP กับการยุติปัญหาเอดส์
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์สากล
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( )
PrEP คืออะไร Pre- Exposure Prophylaxis ยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี รูปยา.
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและโจทย์วิจัย Cluster SALTH
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
แสง และการมองเห็น.
ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ตำบลดงยาง อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ในการเขียน แบบ ก.พ.อ 03 ปรับปรุง / 2
การศึกษาความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน
แนวทางการปฏิบัติเมื่อบุคลากรสัมผัสเลือด หรือสิ่งคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
วิภาส วิมลเศรษฐ มีนาคม 2556
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ
BAL of human lungs samples T cells from both the lung parenchyma and airways. BAL of human lungs samples T cells from both the lung parenchyma and airways.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย
กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
Prolonged expression of TrkB at the cell surface induced by neuronal activity depends on the NMDA receptor and CaMKII. Prolonged expression of TrkB at.
Short-term exposure of autoreactive CTLs to T1-IFNs enhances cytotoxicity toward β-cells. Short-term exposure of autoreactive CTLs to T1-IFNs enhances.
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการการป้องกันและการบริหารจัดการด้านเอดส์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ 23-Jul-19.
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หลักและศิลปะ ในการเขียนหนังสือติดต่อราชการ
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
ประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้พื้นฐานด้านระบาดวิทยา รศ.ดร.นพ.พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช LL.B., M.D., Ph.D. ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 E-mail: pwiwatanadate@gmail.com

“การศึกษาการกระจายและปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคในมนุษย์” ความหมาย “การศึกษาการกระจายและปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคในมนุษย์”

ประเภทของการศึกษาทางระบาดวิทยา การศึกษาเชิงพรรณนา การศึกษาเชิงวิเคราะห์ การศึกษาเชิงทดลอง

มักนำไปสู่การหาข้อสมมติฐาน การศึกษาเชิงพรรณนา เป็นการพรรณนาข้อมูลในกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวเพื่อหาลักษณะร่วมในแง่ บุคคล เวลา และสถานที่ มักนำไปสู่การหาข้อสมมติฐาน AIDS และ HIV Diethylstilbestrol และ vaginal clear cell adenocarcinoma ในปีค.ศ. 1940 CA cervix และ Human papillomavirus, Harald zur Hausen

Ecological Study: เปรียบเทียบหลายกลุ่ม ความกระด้าง (mmol/l) 47 33 22 14 19 20 43 36 จำนวนเมือง (แห่ง) อัตราตาย (Mean SMR) Source: Pocock SJ, et al. Brit Med J 1980,280:1243

การศึกษาภาคตัดขวาง การศึกษาเชิงพรรณนา การศึกษาจากเอกสาร การสำรวจ การสำรวจความคิดเห็น การสำรวจในสถานที่ทำงาน การสำรวจในชุมชน

การศึกษาระยะยาว การศึกษาเชิงพรรณนา การศึกษารายโรค การศึกษาแนวโน้มของโรค การศึกษาพัฒนาการการเกิดโรค การเฝ้าระวังโรค

ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาเชิงพรรณนา บุคคล อายุ เพศ เชื้อชาติ อาชีพ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม สถานภาพสมรส

ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาเชิงพรรณนา (ต่อ) สถานที่ การเปรียบเทียบระหว่างประเทศ การเปรียบเทียบระหว่างชนบทและเขตเมือง เขตแบ่งพื้นที่ตามธรรมชาติ โรคประจำถิ่น

ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาเชิงพรรณนา (ต่อ) เวลา การเปลี่ยนแปลงที่ใช้เวลานาน การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลหรือปีปฏิทิน การเปลี่ยนแปลงในชั่วระยะเวลาสั้นๆ

การศึกษาเชิงวิเคราะห์ การศึกษาไปข้างหลัง การศึกษาภาคตัดขวาง การศึกษาไปข้างหน้า

การศึกษาไปข้างหลัง เริ่มต้นด้วยกลุ่มที่เป็นโรคและไม่เป็นโรค ทั้งสองกลุ่มจะต้องมีลักษณะที่คล้ายกันมากที่สุด ยกเว้น ปัจจัยเสี่ยงที่ต้องการหาความสัมพันธ์ ทำการซักประวัติหรือหาข้อมูลย้อนหลังเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงที่สนใจ

การศึกษาไปข้างหลัง (ต่อ) ปัจจัยเสี่ยง กลุ่มเป็นโรค กลุ่มควบคุม มี A B ไม่มี C D รวม A+C B+D

การศึกษาภาคตัดขวาง เป็นการศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงและการเป็นโรคในเวลาเดียวกัน ข้อดีคือศึกษาได้เร็ว แต่ข้อเสียคือไม่สามารถควบคุมตัวแปรตัวอื่นๆ ได้ บางครั้งไม่สามารถบอกได้ว่าเหตุและผล อะไรเกิดก่อน

การศึกษาไปข้างหน้า เริ่มต้นการศึกษาด้วยกลุ่มที่ได้รับและไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง ทั้งสองกลุ่มจะต้องมีลักษณะที่คล้ายกันมากที่สุด ยกเว้น ปัจจัยเสี่ยงที่ต้องการหาความสัมพันธ์ เฝ้าติดตามการเกิดโรคในระยะเวลาหนึ่งที่กำหนด มักใช้เวลาในการศึกษานานและเสียค่าใช้จ่ายมาก

การศึกษาไปข้างหน้า (ต่อ) ผลลัพธ์ เป็นโรค ไม่เป็นโรค ได้รับปัจจัยเสี่ยง เฝ้าติดตามเป็นระยะเวลาหนึ่ง ประชากรที่ศึกษา เป็นโรค ไม่เป็นโรค ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง

ผู้ศึกษาเป็นผู้กำหนดผู้ที่จะเข้ากลุ่มและวิธีการทดลอง การศึกษาเชิงทดลอง มักจะมี 2 กลุ่ม ทั้งสองกลุ่มจะต้องมีลักษณะที่คล้ายกันมากที่สุด ยกเว้น ปัจจัยเสี่ยงที่ต้องการหาความสัมพันธ์ ผู้ศึกษาเป็นผู้กำหนดผู้ที่จะเข้ากลุ่มและวิธีการทดลอง

ทำการวัดก่อนการทดลอง ทำการวัดหลังการทดลอง การศึกษาเชิงทดลอง ก่อนทดลอง หลังทดลอง กลุ่มควบคุม 1 3 กลุ่มทดลอง 2 4 ทำการวัดก่อนการทดลอง ทำการวัดหลังการทดลอง ให้สารทดสอบเฉพาะกลุ่มทดลอง

การทดสอบสมมติฐานด้วยการศึกษาเชิงวิเคราะห์ การศึกษาเชิงพรรณนา สมมติฐาน การค้นหาปัญหา การทดสอบสมมติฐานด้วยการศึกษาเชิงวิเคราะห์ สาเหตุของปัญหา การศึกษาเชิงทดลอง ดำเนินการแก้ปัญหา