การเลือกซื้อปัจจัยการผลิตทางการเกษตร และมาตรการควบคุม (วัตถุอันตราย ปุ๋ย พันธุ์พืชควบคุม) โดย กรมวิชาการเกษตร ปัจจุบันปัจจัยการผลิตทางการเกษตร เป็นปัจจัยที่สำคัญในการผลิตพืช ทำให้ธุรกิจด้านการผลิต และจำหน่ายปัจจัยการผลิตทางการเกษตรขยายตัวไปอย่างรวดเร็ว จึงทำให้ผู้ผลิต และผู้จำหน่ายบางราย ผลิตและจำหน่ายสินค้าที่ไม่มีคุณภาพ ไม่ได้มาตรฐาน เพื่อจำหน่ายให้เกษตรกร ทำให้เสียเวลา เสียค่าใช้จ่ายและเพิ่มต้นทุนการผลิต ดังนั้นกรมวิชาการเกษตร โดยสำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร ได้มีมาตรการควบคุมการผลิต และจำหน่ายปัจจัยการผลิตทางการเกษตร เพื่อให้เกษตรกรได้ใช้ปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ลดค่าใช้จ่าย ลดต้นทุนการผลิต ซึ่งมีเจ้าหน้าที่สารวัตรเกษตรปฏิบัติงานกำกับดูแลปัจจัยการผลิตทางการเกษตร โดยมีอำนาจหน้าที่ดังนี้
พ.ร.บ.ที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยการผลิต 1. พ.ร.บ.พันธุ์พืช พ.ศ.2518 และแก้ไขเพิ่มเติม 2. พ.ร.บ.ปุ๋ย พ.ศ.2518 และแก้ไขเพิ่มเติม 3. พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ.2535 และแก้ไขเพิ่มเติม
การผลิตและการขาย 1. การผลิตต้องได้รับใบอนุญาตผลิต และต้องนำสินค้ามาขึ้นทะเบียน 2. การขายต้องได้รับใบอนุญาตขายและ ต้องขายสินค้าที่ขึ้นทะเบียนแล้ว
ข้อแนะนำการซื้อปัจจัยการผลิตทางการเกษตร 1. ซื้อจากร้านที่มีใบอนุญาตหรือร้านQ shop 2. สินค้าต้องมีเลขทะเบียน ตรวจสอบทะเบียนจาก แอพพลิเคชั่น DOA Agri Factor 3. ตรวจสอบฉลากที่มีข้อความครบถ้วน ภาชนะไม่รั่ว ซึม บวม มีรอยฉีกขาด 4. ดูวัน/เดือน/ปีผลิตและวันหมดอายุ 5. ศึกษาข้อแนะนำ วิธีการใช้ ให้ถูกต้องตามฉลาก
ข้อห้ามการซื้อปัจจัยการผลิตทางการเกษตร 1. ไม่ซื้อเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย วัตถุอันตราย จากพ่อค้าเร่ ขายตรงลดแลกแจกแถม 2. ไม่ซื้อสินค้าที่ไม่มีเลขทะเบียน 3. ไม่ซื้อสินค้าที่ตกตะกอนแยกชั้น จับตัวเป็นก้อนแข็ง 4. ไม่ซื้อสินค้าที่หมดอายุตามที่ระบุไว้ในฉลาก 5. ไม่ซื้อวัตถุอันตรายที่ห้ามใช้(วอ.4) และงดใช้วัตถุอันตรายก่อนการเก็บเกี่ยวตามฉลาก
วิธีการตรวจสอบทะเบียนปัจจัยผลิต Play store DOA agri factor ติดตั้ง กรอกเลขทะเบียน /ปี เพื่อตรวจสอบว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวได้ขอขึ้นทะเบียนถูกต้องหรือไม่ มีชื่อสาร ชื่อและสถานที่ผลิต ตรงตามที่ระบุบนฉลากหรือไม่ เป็นการตรวจสอบเบื้องต้น
วิธีการตรวจสอบทะเบียน กรอกเลขทะเบียน /ปี เพื่อตรวจสอบว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวได้ขอขึ้นทะเบียนถูกต้องหรือไม่ มีชื่อสาร ชื่อและสถานที่ผลิต ตรงตามที่ระบุบนฉลากหรือไม่ เป็นการตรวจสอบเบื้องต้น
วิธีการตรวจสอบทะเบียน กรอกเลขทะเบียน /ปี เพื่อตรวจสอบว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวได้ขอขึ้นทะเบียนถูกต้องหรือไม่ มีชื่อสาร ชื่อและสถานที่ผลิต ตรงตามที่ระบุบนฉลากหรือไม่ เป็นการตรวจสอบเบื้องต้น
ฉลากเมล็ดพันธุ์ที่ถูกต้อง มีข้อความเป็นภาษาไทย ชัดเจน และครบถ้วน เครื่องหมาย การค้า ชนิดและชื่อพันธุ์ และคำว่า “เมล็ด พันธุ์ควบคุม” คำ เตือน น้ำหนักสุทธิ/ จำนวนเมล็ด
ข้อความที่ต้องดู -หมายเลข พ.พ. - หมวดหมายเลข(Lot. No.) - แหล่งรวบรวม - อัตราความงอก - เมล็ดบริสุทธิ์ ร้อยละ - วัน/เดือน/ปี ที่ ทดสอบ - เดือนและปี ที่ รวบรวม/นำเข้า - เดือนและปีที่ สิ้นอายุ (ถ้ามี) ต้องแจ้งชื่อและ อัตราส่วนวัตถุที่ผสม ข้อความที่ต้องดู ชื่อและ สถานที่ผู้ รวบรวม
ตัวอย่างฉลากปุ๋ยเคมีที่ถูกต้องตามกฎหมาย คำว่า “ปุ๋ยเคมี” ชื่อการค้า สูตรปุ๋ย ชื่อและเครื่องหมายการค้า ระบุหมายเลข ทะเบียนปุ๋ยเคมี น้ำหนักระบบเมตริก ระบุปริมาณ ธาตุอาหารรับรอง ข้อแนะนำการใช้ปุ๋ย ชื่อผู้ผลิตและสถานที่ผลิต กรณีแบ่งบรรจุ ปุ๋ยต่างประเทศ
ตัวอย่างฉลากปุ๋ย(รอง เสริม)ที่ถูกต้องตามกฎหมาย อธิบายตามภาพ
ตัวอย่างฉลากปุ๋ยชีวภาพที่ถูกต้องตามกฎหมาย อธิบายตามภาพ
ตัวอย่างฉลากปุ๋ยอินทรีย์ที่ถูกต้องตามกฎหมาย คำว่า “ปุ๋ยอินทรีย์” ชื่อการค้าปุ๋ย น้ำหนักระบบเมตริก เครื่องหมายการค้า ระบุลักษณะของปุ๋ย(เม็ด) ระบุหมายเลขทะเบียน ปุ๋ยอินทรีย์ ปริมาณอินทรียวัตถุรับรอง อธิบายตามภาพ วัตถุอันเป็นส่วนประกอบ ชื่อผู้ผลิตและสถานที่ผลิต ไม่ได้อยู่ที่เดียวกัน วันที่ผลิต --/--/---- ควรใช้ก่อนวันที่ --/--/----
ตัวอย่างฉลากวัตถุอันตรายที่ถูกต้อง อธิบายตามภาพ เลข กับ ข้อความ
ตัวอย่างฉลากวัตถุอันตรายที่ถูกต้อง วัตถุประสงค์การใช้ อัตราส่วนผสม และสูตรผสม ชื่อการค้า ประโยชน์ วิธีใช้ วิธีเก็บรักษา ชื่อสามัญ คำเตือน ทะเบียนวัตถุอันตราย กลุ่มสารเคมี อาการเกิดพิษ การแก้พิษ ขนาดบรรจุ อธิบายตามภาพ เลข กับ ข้อความ วันผลิต ชื่อและสถานที่ประกอบการ แถบสี เครื่องหมายและภาพเตือน
มาตรการควบคุมปัจจัยการผลิต 6 มาตรการควบคุม 1.ใบอนุญาต ขึ้นทะเบียน 2.คุมการนำเข้า 3.คุมการผลิต ขาย 4.ประชาสัมพันธ์ 5.Q shop Q Factory 6.บังคับใช้กฎหมาย
หากพบเห็นการกระทำผิดกฎหมาย รถเร่ การขายตรง โฆษณาเกินจริง แจ้งเบาะแสกับสารวัตรเกษตร
หากพบเห็นการกระทำผิดกฎหมายโปรดแจ้ง แจ้งเบาะแสกับสารวัตรเกษตร สคว. สวพ.1 สวพ.2 สวพ.3 สวพ.4 สวพ.5 สวพ.6 สวพ.7 สวพ.8 (กรุงเทพฯ) (เชียงใหม่) (พิษณุโลก) (ขอนแก่น) (อุบลราชธานี) (ชัยนาท) (จันทบุรี) (สุราษฎร์ธานี) (สงขลา) 081-342-0405 081-950-6383 081-736-4938 091-862-2525 083-371-4449 081-587-9701 089-938-8933 089-871-5474 081-990-8812
สิทธิของผู้ให้ข้อมูลเบาะแส เมื่อคดีสิ้นสุด มีเงินสินบนจากเงินค่าปรับตามคำพิพากษาของศาล 20