บทที่ 1 วิวัฒนาการของรายงานทางการเงิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทที่ 1 ภาพรวมของการสอบบัญชี
บทที่ 6 งบประมาณ.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
BUNCHEE TIPS BY AOODY FOR MM MEETING ON FEBUARY 17, 2014.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี ติดตามงานแผนกล ยุทธ์ ปี เจ้าภาพ กบส./ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดสุโขทัย
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
Principles of Accounting
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
TFRS for SMEs ดร. วรศักดิ์ ทุมมานนท์
บทที่ 5 การประมวลผลรายการค้า
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
กลุ่มเกษตรกร.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
Financial Reporting AND Analysis Accounting Information
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 3 สภาพแวดล้อมของการจัดการธุรกิจ
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
แนวทางปฏิบัติการรายงานข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตที่ตรวจพบ
SMS News Distribute Service
บทที่ 1 กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน.
รายวิชา การบริหารการศึกษา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2400 (ปรับปรุง)
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 วิวัฒนาการของรายงานทางการเงิน ความหมายของรายงานทางการเงิน ความสัมพันธ์ระหว่างการบัญชี การรายงานการเงิน และงบการเงิน วัตถุประสงค์ของการรายงานทางการเงิน สภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อวิวัฒนาการรายงานทางการเงิน ผู้ใช้รายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ความจำเป็นที่ต้องมีการพัฒนามาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการบัญชีไทย

ความหมายของรายงานทางการเงิน (Definition of Financial Report) ??? กระบวนการสื่อสารข้อมูลทางการซึ่งได้มาจากระบบบัญชี โดยมีงบการเงิน เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของรายงานทางการเงิน ทั้งนี้อาจจะทำในรูปแบบของรายงานประจำปี หนังสือชี้ชวน เอกสารแจ้งข่าวหรือพยากรณ์ นอกจากนี้ยังมีรายงานผลกระทบทางด้านแวดล้อมและสังคม (ยังไม่มีรูปแบบที่แน่นอนและไม่มีมาตรฐานการบัญชีกำหนด)

รูปภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการบัญชี การรายงานการเงิน และงบการเงิน การรายงานทางการเงิน การบัญชี งบการเงิน ข้อมูลอื่น ๆ การเลือก การบันทึก การสื่อสาร ข้อมูลทางการเงิน งบดุล งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ (หรืองบแสดงการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย ) หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายงานประจำปี สารจากประธาน หนังสือชี้ชวน การวิเคราะห์ของ ฝ่ายจัดการ ฯลฯ ไม่ต้องจัดทำตาม มาตรฐานการบัญชี จัดทำตามมาตรฐานการบัญชี

การบัญชี (Accounting) การบัญชี คือ ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จำแนกและทำสรุปข้อมูลอันเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปของตัวเงิน ผลงานขั้นสุดท้ายของการบัญชีก็คือ การให้ข้อมูลทางการเงินซึ่งเป็นประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่าย และผู้สนใจในกิจกรรมของกิจการ

กระบวนการทางการบัญชี การเลือก (Identification) --> รายการ หรือ ข้อมูล ที่เป็นเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ การบันทึก (Recording) --> ต้องทำการวัดมูลค่าออกมาเป็นตัวเงิน ก่อนแล้วจึงบันทึกบัญชี การสื่อสาร (Communication) --> จัดทำรายงานการเงิน แล้วสื่อสารไปยังผู้ใช้งบการเงิน

งบการเงิน (Financial Statements) งบการเงิน หมายถึง รายงานผลการดำเนินงาน ฐานะการเงินหรือ การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน ไม่ว่าจะรายงานโดยงบดุล งบกำไรขาดทุน งบกำไรสะสม งบกระแสเงินสด งบการแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น งบประกอบหรือหมายเหตุประกอบงบการเงิน หรือคำอธิบายอื่นซึ่งระบุไว้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงิน

วัตถุประสงค์ของการรายงานการเงิน (Objective of Financial Reporting) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 35 เรื่องการนำเสนองบการเงิน ถือเป็น “งบการเงินที่จัดทำขึ้นเพื่อสนองความต้องการของผู้ใช้งบการเงินที่ไม่อยู่ในฐานะที่จะได้รับข้อมูลเพื่อตอบสนองความต้องการส่วนตัว” แม่บทการบัญชี วัตถุประสงค์ของงบการเงิน = วัตถุประสงค์ของการรายงานการเงิน “งบการเงินจัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดำเนินงานและการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน อันเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงินทุกประเภทในการนำไปใช้ในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ”

งบการเงินจะต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ และความสามารถในอดีตของกิจการในการใช้ทรัพยากรดังกล่าว โครงสร้างทางการเงิน สภาพคล่อง ความสามารถในการชำระหนี้ และความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปซึ่งมีผลต่อฐานะการเงิน --> แสดงในงบดุล ผลการดำเนินงาน และการเปลี่ยนแปลงของผลการดำเนินงาน เป็นข้อมูลที่แสดงถึงความสารถในการทำกำไรของกิจการ --> แสดงในงบกำไรขาดทุน การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการแสดงรายละเอียดแยกเป็นกิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมลงทุน และกิจกรรมจัดหา --> แสดงในงบกระแสเงินสด

สภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อวิวัฒนาการรายงานการเงิน (The Environment of Financial Reporting) สังคม เศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

ข้อบกพร่องของรายงานการเงิน ไม่แสดงข้อมูลอื่นที่ใช้วัดผลการปฏิบัติงาน --> ความพึงพอใจของลูกค้า อัตราการรับคืนสินค้า ไม่แสดงข้อมูลที่เกิดขึ้นในอนาคต ให้ความสำคัญต่อสินทรัพย์ที่มีตัวตนมากกว่าสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน จัดทำเฉพาะรายไตรมาสและรายปี แต่ยังไม่สามารถจัดทำงบการเงิน ณ เวลาใดเวลาหนึ่งที่ต้องการได้ --> ทำให้ข้อมูลที่ได้รับล่าช้า ไม่ทันเวลาต่อการตัดสินใจของผู้ใช้งบการเงิน

ผู้ใช้รายงานการเงิน (Financial Reports Users) ผู้ใช้ภายนอกกิจการ (External Users) ได้แก่ ผู้ลงทุน ผู้ให้กู้ ผู้ขายสินค้า เจ้าหนี้ ลูกค้า รัฐบาล หน่วยงานราชการ และสาธารณะชนทั่วไป ผู้ใช้ภายในกิจการ (Internal Users) ได้แก่ ฝ่ายบริหารของกิจการและพนักงาน

รายงานการเงินในอนาคต ข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช่การเงิน การวิเคราะห์ของผู้บริหาร ข้อมูลที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ข้อมูลเกี่ยวกับผู้บริหารและผู้ถือหุ้น ประวัติความเป็นมาของบริษัท

มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการบัญชี = หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป มาตรฐานการบัญชี = หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป Accounting Standards = Generally Accepted Accounting Principles (GAAP) หลักการบัญชีและวิธีปฏิบัติทางการบัญชีที่รับรองทั่วไป หรือมาตรฐานการบัญชี ที่กำหนดตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น (พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543) แนวทางที่แนะนำให้นักบัญชียึดถือเป็นหลักปฏิบัติในการรวบรวม จดบันทึก จำแนก สรุปผล และรายงานเหตุการณ์เกี่ยวกับการเงิน (ศัพท์บัญชี 2538)

ความจำเป็นที่ต้องมีการพัฒนามาตรฐานการบัญชี (Needs to Develop Accounting Standards) มีผู้ใช้งบการเงินหลายกลุ่ม ต้องการข้อมูลบางส่วนที่มีลักษณะร่วมกัน เพื่อให้นักบัญชีใช้ยึดถือเป็นหลักปฏิบัติ

มาตรฐานการบัญชีไทย (Thai Accounting Standards) TAS# 11 หนี้สงสัยจะสูญ TAS# 24 การเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน TAS# 25 งบกระแสเงินสด TAS# 26 การรับรู้รายได้สำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ TAS# 27 การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินของธนาคารและสถาบันการเงินที่คล้ายคลึงกัน TAS# 29 สัญญาเช่า

มาตรฐานการบัญชีไทย (ต่อ) (Thai Accounting Standards) TAS# 30 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ TAS# 31 สินค้าคงเหลือ TAS# 32 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ TAS# 33 ต้นทุนการกู้ยืม TAS# 34 การบัญชีสำหรับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา TAS# 35 การนำเสนองบการเงิน TAS# 36 การด้อยค่าของสินทรัพย์ TAS# 37 การรับรู้รายได้

มาตรฐานการบัญชีไทย (ต่อ) (Thai Accounting Standards) TAS# 38 กำไรต่อหุ้น TAS# 39 กำไรหรือขาดทุนสุทธิสำหรับงวดข้อผิดพลาดที่สำคัญและการเปลี่ยนแปลงทางบัญชี TAS# 40 การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน TAS# 41 งบการเงินระหว่างกาล TAS# 42 การบัญชีสำหรับกิจการที่ดำเนินธุรกิจเฉพาะด้านการลงทุน TAS# 43 การรวมธุรกิจ TAS# 44 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ TAS# 45 เงินลงทุนในบริษัทร่วม TAS# 46 ส่วนได้เสียในการร่วมค้า

มาตรฐานการบัญชีไทย (ต่อ) (Thai Accounting Standards) TAS# 47 การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน TAS# 48 การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน TAS# 49 สัญญาก่อสร้าง TAS# 51 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน TAS# 52 เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุล TAS# 53 ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น TAS# 54 การดำเนินงานที่ยกเลิก แม่บทการบัญชี

จบบทที่ 1